วัสดุศาสตร์และวิศวกรรมวัสดุพื้นฐาน

฿370.00

ขายแล้ว 1 เล่ม

วัสดุศาสตร์และวิศวกรรมวัสดุพื้นฐาน โครงสร้างอะตอมและพันธะระหว่างอะตอม โครงสร้างของแข็งมีผลึก ตำหนิในผลึกของแข็ง การแพร่ สมบัติทางกลของโลหะ

สินค้าหมดแล้ว

แชร์เล่มนี้

ผู้แปลและเรียบเรียง
อ.สุวันชัย พงษ์สุกิจวัฒน์ และคณะ 
สำนักพิมพ์
TOP Publishing

ปีที่พิมพ์
พ.ศ.2548
จำนวน
752 หน้า
ISBN
9749918036

รหัสสินค้า
0624
หมวดหนังสือ
เครื่องกล

วัสดุศาสตร์และวิศวกรรมวัสดุพื้นฐาน (Materials Science and Engineering An Introduction)

ความรู้เกี่ยวกับวัสดุในงานวิศวกรรมเป็นสิ่งสำคัญสำหรับวิศวกรทุกสาขา เช่น

  • วิศวกรเครื่องกลซึ่งเป็นผู้เลือกใช้วัสดุเพื่อนำมาเป็นชิ้นส่วนทางกล ก็ต้องทราบว่าวัสดุเหล่านี้มีจุดเด่นจุดด้อยอย่างไร ทำอย่างไรจึงทำให้ชิ้นส่วนหนึ่ง ๆ มีอายุการใช้งานที่ยาวนาน และมีความปลอดภัยสูงขึ้น
  • วิศวกรไฟฟ้าและคอมพิวเตอร์ที่ทำงานเกี่ยวกับอิเล็กทรอนิกส์ ก็ต้องทราบถึงผลของปริมาณสารเจือต่อสมบัติของแผงวงจรรวม สมบัติและวิธีการออกแบบเกี่ยวกับอุปกรณ์สมัยใหม่ (เช่น จอที่ประกอบขึ้นจากผลึกเหลว ฯลฯ)
  • วิศวกรโยธาก็ต้องรู้จักสมบัติทางกลและการทนทานต่อสภาวะแวดล้อมของโครงสร้างในงานโยธา ตลอดจนชิ้นส่วนโครงสร้างเหล็ก
  • วิศวกรในโรงงานเคมีต้องสามารถทำนายอัตราการกัดกร่อนของท่อขนส่งสารเคมีในโรงงานของตนได้ เป็นต้น

บทที่ 1 บทนำ
บทที่ 2 โครงสร้างอะตอมและพันธะระหว่างอะตอม
บทที่ 3 โครงสร้างของแข็งมีผลึก
บทที่ 4 ตำหนิในผลึกของแข็ง
บทที่ 5 การแพร่
บทที่ 6 สมบัติทางกลของโลหะ
บทที่ 7 ดิสโลเคชั่นและกลไกการเพิ่มความแข็งแรง
บทที่ 8 ความเสียหาย
บทที่ 9 สมดุลของเฟส
บทที่ 10 การแปลงเฟสในโลหะ
บทที่ 11 การใช้งานและกระบวนการขึ้นรูปของโลหะผสม
บทที่ 12 โครงสร้างและสมบัติของเซรามิก
บทที่ 13 การใช้งานและการผลิตวัสดุเซรามิก
บทที่ 14 โครงสร้างของพอลิเมอร์
บทที่ 15 คุณลักษณะ การประยุกต์ใช้ และกระบวนการผลิตของพอลิเมอร์
บทที่ 16 วัสดุผสม
บทที่ 17 การกัดกร่อนและการเสื่อมสภาพของวัสดุ
บทที่ 18 สมบัติทางไฟฟ้า
บทที่ 19 สมบัติเชิงความร้อน
บทที่ 20 สมบัติทางแม่เหล็ก
บทที่ 21 สมบัติทางแสง