การวิเคราะห์วงจรอิเล็กทรอนิกส์

฿300.00

อ.อนันท์ คัมภิรานนท์

จำนวนหน้า  372 หน้า

แชร์เล่มนี้

การวิเคราะห์วงจรอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Circuits Analysis) เล่มนี้ เป็นตำราเพื่อใช้ประกอบการเรียนการสอนในระดับปริญญาตรี สาขาวิชาวิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์และโทรคมนาคม มีเนื้อหาวิชาครอบคลุมเกี่ยวกับการวิเคราะห์กระแสสลับของวงจรทรานซิสเตอร์ การวิเคราะห์วงจรขยายสัญญาณขนาดเล็กของเฟต วงจรขยายหลายภาค วงจรขยายความแตกต่าง การะประยุกต์ใช้งานของออปแอมป์ วงจรกรองไวงาน และวงจรป้อนกลับและออสซิลเลเตอร์

จุดเด่นของหนังสือเล่มนี้

  • เป็นหนังสืือที่เขียนและเรียบเรียงจากประสบการณ์การสอนวิชานี้มานาน
  • มีเนือหาครอบคลุมหลักสูตรสาขาิชาวิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์และโทรคมนาคม
  • อธิบายและเรียงลำดับเนื้อหาอย่างเป็นระบบ ไม่ซับซ้อน
  • มีแบบฝึกหัดและรูปประกอบที่ชัดเจน
  • เหมาะเป็นอย่างยิ่งสำหรับนักศึกษาระดับปริญญาตรี สาขาวิชาวิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์และโทรคมนาคมและหลักสูตรสาขาครุศาสตร์อุตสาหกรรม สาขาวิศวกรรมศาสตร์ และผู้ที่มีความสนใจทั่วไป
  • หน่วยที่ 1 การวิเคราะห์กระแสสลับของวงจรทรานซิสเตอร์

1.1 ความรู้พื้นฐานของแบบจำลองทรานซิสเตอร์

1.2 หลักการของแบบจำลองทรานซิสเตอร์อาร์อี

1.3 หลักการของแบบจำลองสมมูลไฮบริด

1.4 หลักการของแบบจำลองสมมูลไฮบริด-ไพ (¶)

บทสรุป  การวิเคราะห์กระแสสลับของวงจรทรานซิสเตอร์

แบบฝึกหัด หน่วยที่ 1 การวิเคราะห์กระแสสลับของวงจรทรานซิสเตอร์

หน่วยที่ 2 การวิเคราะห์วงจรขยายสัญญาณขนาดเล็กของเฟต

2.1 หลักการแบบจำลองสัญญาณขนาดเล็กของเจเฟต

2.2 หลักการวิเคราะห์วงจรขยายสัญญาณขนาดเล็กของเจเฟต

2.3 หลักการแบบจำลองสัญญาณขนาดเล็กของมอสเฟต

บทสรุป การวิเคราะห์วงจรขยายสัญญาณขนาดเล็กของเฟต

แบบฝึกหัด หน่วยที่ 2 การวิเคราะห์วงจรขยายสัญญาณขนาดเล็กของเฟต

หน่วยที่ 3 วงจรขยายหลายภาค

3.1  ระบบคาสเคด

3.2  การต่อดาร์ลิงตัน

3.3  การต่อคู่ป้อนกลับ

บทสรุป วงจรขยายหลายภาค

แบบฝึกหัด หน่วยที่ 3 วงจรขยายหลายภาค

หน่วยที่ 4 วงจรขยายความแตกต่าง

4.1 คุณลักษณะการต่อใช้งานของวงจรขยายความแตกต่าง

4.2 หลักการทำงานของวงจรขยายความแตกต่างที่ใช้ทรานซิสเตอร์รอยต่อไบโพลาร์

4.3 หลักการทำงานแบบวิธีร่วมและเชิงผลต่าง

บทสรุป วงจรขยายความแตกต่าง

แบบฝึกหัด หน่วยที่ 4 วงจรขยายความแตกต่าง

หน่วยที่ 5 การประยุกต์ใช้งานของออปแอมป์

5.1 วงจรขยายสัญญาณในรูปแบบต่าง ๆ

5.2 แหล่งกำเนิดถูกควบคุม

5.3 วงจรที่ใช้งานด้านอุตสาหกรรมในรูปแบบต่าง ๆ

บทสรุป การประยุกต์ใช้งานของออปแอมป์

แบบฝึกหัด หน่วยที่ 5 การประยุกต์ใช้งานของออปแอมป์

หน่วยที่ 6 วงจรกรองไวงาน

6.1 หลักการของวงจรกรองผ่านต่ำพื้นฐาน

6.2 หลักการของวงจรกรองไวงานผ่านต่ำ

6.3 หลักการขงวงจรกรองไวงานผ่านสูง

6.4 หลักการของวงจรกรองไวงานผ่านแถบ

6.5 วงจรกรองไวงานกำจัดแถบ

บทสรุป วงจรกรองไวงาน

แบบฝึกหัด หน่วยที่ 6 วงจรกรองไวงาน

หน่วยที่ 7 วงจรป้อนกลับและออสซิลเลเตอร์

7.1 หลักการของแนวคิดการป้อนกลับ

7.2 หลักการของออสซิลเลเตอร์แบบสัญญาณคลื่นไซน์

บทสรุป วงจรป้อนกลับและออสซิลเลเตอร์

แบบฝึกหัด หน่วยที่ 7 วงจรป้อนกลับและออสซิลเลเตอร์