หนังสือ “คู่มือถังรับแรงดัน” เล่มนี้ผู้แปลได้แปลมาจาก “Presure Vessel Handbook” ซึ่งแต่งโดย “Eugene F.Megyesy” เนื่องจากเ็ห็นว่าเป็นหนังสือที่ ได้รวบรวมสูตรและข้อมูลที่จำเป็นที่ใช้ในการออกแบบ และผลิตถังรับแรงดันไว้อย่างครบถ้วน อีกทั้งยังสามารถใช้งานได้ง่าย มีตัวอย่างประอบทุกขั้นตอนโดยมีสุตร และตัวอย่างแสดงไว้ในหน้าคู่กันไป ทำให้ไม่ต้องเสียเวลาในการพลิกหาสูตรหากมีข้อสงสัยรวมทั้งสูตรและขั้นตการออกแบบที่ได้แสดงไว้ได้อ้างอิงตาม ASME Code For Pressure Vessels, Section VIII: Division 1 ที่ใช้ในการออกแบบถังรับแรงดันเป็นหลักด้วยโดยการปรับแก้ครั้งที่ 10 นี้ ปรับแก้ให้เป็นไปตาม 1995 Edition of ASME Code ซึ่งเป็นการปรับปรุงแก้ไขครั้งล่าสุดของ ASME Cod
นอกจากนี้ผู้แปลได้เพิ่มเติมข้อมูลทางด้านการออกแบบเนื่องจากแรงแผ่นดินไหวและการออกแบบเนื่องจากแรงลมที่เกี่ยวข้องกับประเทศไทยไว้ให้ด้วย รวมทั้งข้อมูลการเปรียบเทียบรายการวัสดุของประเทศต่าง ๆ บางประเทศ เช่น ญี่ปุ่น เยอรมัน ฝรั่งเศส และอังกฤษเทียบกับของประเทศสหรัฐอเมริกาไว้ประกอบการเลือกใช้วัสดุและจัดซื้อจัดหารายการวัสดุด้วย
ภาค 0 กล่าวนำทั่วไป
ภาค I การออกแบบและโครงสร้างของถังรับแรงดัน
ภาค II เรขาคณิตและการเขียนแบบส่วนประกอบถัง
ภาค III การวัดและน้ำหนัก
ภาค IV การออกแบบโครงสร้างเหล็ก
ภาค V เรื่องผนวกอื่น ๆ
สารบัญ ภาค 0
1. ถังรับแรงดัน
2. หน่วย
3. การออกแบบถังรับแรงดัน
4. ความหนาของถัง
5. ค่าเผื่นการกัดกร่อน
6. การออกแบบถังรับแรงดันโดยอาศัยหลักเกณฑ์การออกแบบ
7. วัสดุ
8. ความเค้นในถังรับแรงดัน
9. ความเค้นในผนังทรงกระบอก
สารบัญภาค I
1. ถังภายใต้ความดันภายใน
2. ถังภายใต้ความดันภายนอก
3. การออกแบบถังชนิดหอสูง
4. ส่วนรองรับถัง
5. รูเจาะ
6. ภาระแรงของพวยรูเจาะหรือนอซเซิล
7. การเสริมความแข็งแรงที่รอยต่อของกรวยกับถังทรงกระบอก
8. การเชื่อมถังรับแรงดัน
9. กฏข้อบังคับ และคุณลักษณะเฉพาะ
10. คุณสมบัติของวัสดุ
11. โคดของระบบท่อ
12. ถังเก็บของเหลวที่ประกอบด้วยการเชื่อม
13. ถังเก็บขอเหลวทรงสี่เหลี่ยมผืนผ้า
14. การกัดกร่อน
15. เรื่องอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง
16. การทาสีพื้นผิวเหล็กกล้า
17. รายการตรวจสอบสำหรับผู้ตรวจสอบ