งานไฟฟ้ารถยนต์
฿158.00
งานไฟฟ้ารถยนต์ ทฤษฎีไฟฟ้าเบื้องต้น พื้นฐานงานไฟฟ้ารถยนต์ แบตเตอรี่ ระบบสตาร์ต ระบบจุดระเบิด ระบบจุดระเบิดอิเล็กทรอนิกส์ ระบบประจุไฟ ระบบไฟแสงสว่าง
ผู้เขียน
เดชัย ด่านวรรณกิจ
สำนักพิมพ์
ศสอ.
ปีที่พิมพ์
พิมพ์ครั้งที่ 1
พศ. 2566
จำนวน
262 หน้า
ISBN
9786165791755
รหัสสินค้า
0678
หมวดหนังสือ
ช่างยนต์
งานไฟฟ้ารถยนต์ Automotive Electrical Job 20101-2005
หน่วยที่ 1 ทฤษฎีไฟฟ้าเบื้องต้น
1.1 อะตอม
1.2 การไหลของกระแสไฟฟ้า
1.3 ชนิดของไฟฟ้า
1.4 หน่วยวัดกระแลไฟฟ้า
1.5 หน่วยวัดแรงเคลื่อนไฟฟ้า
1.6 ความต้านทานไฟฟ้า
1.7 สารที่ใช้ในงานไฟฟ้า
1.8 กฎของโอห์ม
1.9 การต่อวงจรไฟฟ้า
1.10 การคำนวณวงจรไฟฟ้า
1.11 กำลังงานไฟฟ้า
1.12 แม่เหล็ก
กิจกรรมที่ 1
หน่วยที่ 2 พื้นฐานงานไฟฟ้ารถยนต์
2.1 สัญลักษณ์ทางไฟฟ้า
2.2 อุปกรณ์ไฟฟ้า
2.3 การต่อสายไฟ
2.4 เครื่องมือวัด
กิจกรรมที่ 2.1
กิจกรรมที่ 2.2
กิจกรรมที่ 2.3
หน่วยที่ 3 แบตเตอรี่
3.1 หน้าที่ของแบตเตอรี่
3.2 โครงสร้างของแบตเตอรี่
3.3 ปฏิกิริยาเคมีภายในแบตเตอรี่
3.4 อัตราการจ่ายไฟหรือความจุของแบตเตอรี่
3.5 การตรวจวัดความถ่วงจำเพาะของน้ำยา
3.6 การประจุไฟแบตเตอรี่
3.7 การทดสอบความจุหรือการจ่ายประจุกระแสสูง
3.8 การบำรุงรักษาแบตเตอรี่
3.9 การแก้ไขข้อขัดข้องที่เกิดกับแบตเตอรี่
กิจกรรมที่ 3.1
กิจกรรมที่ 3.2
หน่วยที่ 4 ระบบสตาร์ต
4.1 หน้าที่ของระบบสตาร์ต
4.2 หลักการทำงานของมอเตอร์
4.3 ชนิดของมอเตอร์สตาร์ต
4.4 โครงสร้างของมอเตอร์สตาร์ต
4.5 การทำงานของมอเตอร์สตาร์ต
4.6 มอเตอร์สตาร์ตแบบทดรอบ
4.7 มอเตอร์สตาร์ตแบบชุดเฟืองแพลเนตทารี
4.8 การถอดประกอบและตรวจสอบมอเตอร์สตาร์ต
4.9 การแก้ไขข้อขัดข้องของระบบสตาร์ต
กิจกรรมที่ 4.1
กิจกรรมที่ 4.2
หน่วยที่ 5 ระบบจุดระเบิด
5.1 โครงสร้างของระบบจุดระเบิด
5.2 สวิตซ์กุญแจหรือสวิตช์จุดระเบิดคอยล์จุดระเบิด
5.4 การทำงานของระบบจุดระเบิด
5.4 จานจ่าย
5.5 หัวเทียน
5.6 การแก้ไขข้อขัดข้องระบบจุดระเบิด
กิจกรรมที่ 5.1
กิจกรรมที่ 5.2
หน่วยที่ 6 ระบบจุดระเบิดอิเล็กทรอนิกส์
6.1 ตัวกำเนิดสัญญาณ
6.2 ตัวช่วยจุดระเบิด
6.3 หลักการทำงานของระบบจุดระเบิดอิเล็กทรอนิกส์
6.4 การควบคุมมุมดเวล
6.5 ระบบจุดระเบิดอิเล็กทรอนิกส์ – llA
6.6 ระบบจุดระเบิดอิเล็กทรอนิกส์ควบคุมด้วยคอมพิวเตอร์แบบมีจานจ่าย
6.7 ระบบจุดระเบิดอิเล็กทรอนิกส์แบบไม่ใช้จานจ่าย DLI
กิจกรรมที่ 6.1
กิจกรรมที่ 6.2
หน่วยที่ 7 ระบบประจุไฟ
7.1 หลักการของเครื่องกำเนิดไฟฟ้า
7.2 หลักการของอัลเตอร์เนเตอร์
7.3 โครงสร้างของอัลเตอร์เนเตอร์
7.4 การควบคุมแรงดันไฟฟ้า
7.5 การทำงานของระบบประจุไฟ (นิปปอนเด็นโซ่ ND)
7.6 ระบบประจุไฟแบบไอซีเร็กกูเลเตอร์
7.7 หลักการเบื้องต้นของทรานซิสเตอร์และซีเนอร์ไดโอด
7.8 หลักการทำงานของไอซีเร็กกูเลเตอร์
7.9 การแก้ไขข้อขัดข้องของระบบประจุไฟ
กิจกรรมที่ 7.1
กิจกรรมที่ 7.2
กิจกรรมที่ 7.3
หน่วยที่ 8 ระบบไฟแสงสว่าง
8.1 หน้าที่ของระบบไฟแสงสว่าง
8.2 ประเภทของหลอดไฟ
8.3 สวิตช์ไฟหน้า
8.4 วงจรไฟหน้า
8.5 การปรับตั้งไฟหน้า
8.6 ไฟในห้องโดยสารและไฟประตู
8.7 วงจรไฟตัดหมอก
กิจกรรมที่ 8.1
กิจกรรมที่ 8.2
หน่วยที่ 9 ระบบสัญญาณ
9.1 ระบบไฟเลี้ยวและไฟฉุกเฉิน
9.2 ระบบไฟเบรก
9.3 ระบบไฟถอยหลัง
9.4 ระบบแตร
กิจกรรมที่ 9.1
กิจกรรมที่ 9.2
หน่วยที่ 10 ระบบเกจวัดและมาตรวัด
10.1 ตัวควบคุมแรงดันไฟฟ้า
10.2 เกจวัดอุณหภูมิ
10.3 เกจวัดระดับน้ำมันเชื้อเพลิง
10.4 เกจวัดแรงดันน้ำมันเครื่อง
10.5 มาตรวัดความเร็วรอบเครื่องยนต์
10.6 มาตรวัดความเร็วรถยนต์
กิจกรรมที่ 10.1
กิจกรรมที่ 10.2
หน่วยที่ 11 ระบบอำนวยความสะดวก
11.1 เครื่องปัดน้ำฝน
11.2 วิทยุรถยนต์
11.3 ระบบละลายฝ้ากระจกหลัง
11.4 ที่จุดบุหรี่
11.5 กระจกมองข้างปรับด้วยไฟฟ้า
กิจกรรมที่ 11.1
กิจกรรมที่ 11.2
กิจกรรมที่ 11.3
หน่วยที่ 12 ประมาณราคาค่าบริการ
12.1 ขั้นตอนพื้นฐานในศูนย์บริการ
12.2 คู่มือชั่วโมงทำงานมาตรฐานและค่าแรง
12.3 การประมาณราคาค่าบริการ
กิจกรรมที่ 12
โครงงาน งานวิจัยหรือการวางแพนธุรกิจ
บรรณานุกรม