ทฤษฏีวงจรไฟฟ้า 1
฿295.00
ผศ.ธีระพล เดโชเกียรติถวัลย์
พิมพ์ครั้งที่ 5 พ.ศ. 2555
สินค้าหมดแล้ว
ทฤษฏีวงจรไฟฟ้า 1 นี้ จะกล่าวถึงสัญลักษณ์พื้นฐานและคำจำกัดความของปริมาณพื้นฐานทางไฟฟ้า อุปกรณ์พื้นฐานทางไฟฟ้าเช่น ตัวต้านทาน ตัวเหนี่ยวนำ ตัวเก็บประจุและแหล่งจ่ายชนิดต่าง ๆ รวมทั้งคุณสมบัติของอุปกรณ์เหล่านั้น กฏพื้นฐานทางไฟฟ้า เช่น กฏของโอห์ม กฏกระแสของเคอร์ชอฟฟ์และกฏแรงดันของเคอร์ชอฟฟ์ การวิเคราะห์วงจรด้วยโนด การวิเคราะห์วงจรด้วยเมช วงจรเชิงเส้น ลักษณะและคุณสมบัติของวงจรเชิงเส้น ทฤษฏีบทต่าง ๆ ที่สามารถใช้กับวงจรเชิงเส้น ได้แก่คุณสมบัติความเป็นเชิงเส้น ทฤษฏีบทการทับซ้อน การแปลงแหล่งจ่าย ทฤษฏีบทของเทเวนิน ทฤษฏีบทของนอร์ตัน ทฤษฏีการถ่ายโอนกำลังสูงสุด รวมทั้งการวิเคระห์วงจรด้วย Tree and General Nodsl Analysis และ Link and Loop Analysis ลักษณะและการวิเคราะห์าผลตอบสนองในสภาวะชั่วครู่ของวงจรอันดับที่หนึ่ง ลักษณะและการวิเคราะห์หาผลตอบสนองในสภาวะชั่วครู่ของวงจรอันดับที่สอง คุณลักษณะเบื้องต้นของฟังก์ชั่นไชนูชอยด์ การหาผลตอบสนองในสภาวะคงตัวของวงจรที่ขับด้วยแหล่งจ่ายฟังก์ชั่นชันไชนูซอรด์ด้วยวิธีการต่าง ๆ ตังแต่การใช้สมการเชิงอนุพันธ์ แหล่งจ่ายเชิงซื้อไปจนถึงการใช้หลัการของเฟสเซอร์และอิมพีแดนซ์ การเขียนเฟสเชอร์ไดอะแกรม และการผลตอบสนองเชิงความถี่ของวงจร การหาค่า่เฉลี่ยและค่าประสิทธิผลของผลตอบสนอง การหาค่ากำลังชั่วขณะ กำลังเฉลี่ย กำลังรีแอ็กตีฟ ปรากฏ กำลังเชิงซ้อนและค่าตัวประกอบในวงจรไฟฟ้ากระแสสลับ รวมทั้งการปรับปรุงค่าตัวประกอบกำลัง ระบบไฟฟ้า 3 เฟส ลักษณะการต่อและคุณสมบัติของระบบไฟฟ้า 3 เฟส การวิเคราะห์หาผลตอบสนองทั้งในกรณีที่โหลดสมดุลและไม่สมดุล รวมทั้งการปรับปรุงค่าตัวประกอบกำลังในระบบไฟ 3 เฟส
บทที่ 1 คำจำกัดความและหน่วยต่าง ๆ
บทที่ 2 กฏเชิงปฏิบัติการและวงจรเบื้องต้น
บทที่ 3 เทคนิคการวิเคราะห์วงจร
บทที่ 4 อุปกรณ์สะสมพลังงาน
บทที่ 5 วงจรอันดับหนึ่ง
บทที่ 6 วงจรอันดับสอง
บทที่ 7 ผลตอบสนองบังคับต่อแหล่งจ่ายฟังก์ชันไซนูซอยด์
บทที่ 8 กำลังไฟฟ้าในวงจรไฟฟ้ากระแสสลับ
บทที่ 9 วงจรไฟฟ้าหลายเฟส