เกร็ดความรู้เกี่ยวกับการควบคุมงานก่อสร้างอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก

฿600.00

อรุณ ชัยเสรี

แก้ไขปรับปรุงครั้งที่ 4

พิมพ์ครั้งที่ 6 มีนาคม 2553

แชร์เล่มนี้

1. ทั่วไป

1.1 ผู้ออกแบบ

1.2 ผู้บริหารโครงการ

1.3 ผู้ควบคุมงาน

1.4 คุณสมบัติของผู้ควบคุมงาน

1.5 สิ่งที่ผู้ควบคุมงานพึงปฏิบัติ

1.6 หน้าที่ประจำของผู้ควบคุมงาน

1.6.1 การไม่เข้าใจหน้าที่ของตนเอง

1.7 วิธีการปฏิบัติงานร่วมกันระหว่างผู้ออกแบบ ผู้ควบคุมงาน ผู้รับจ้างก่อสร้าง และเจ้าของโครงการ หรือคณะกรรมการตรวจการจ้าง

1.7.1 ขั้นตอนการปฏิบัติงาน

1.7.2 เอกสารสัญญา

1.7.3 จรรยาบรรณ

1.8 ปัญหาข้อโต้แย้ง

1.9 ปัญหาการตรวจรับงาน

1.10 อนุญาโตตุลาการ

2. การเตรียมการก่อสร้าง

2.1 การศึกษาเวลากับการเคลื่อนที่

3. ความปลอดภัย และความสะอาด

4. งานนั่งร้าน และลิฟต์ชั่วคราว

4.1 นั่งร้าน

4.2 ลิฟต์ชั่วคราว

5. การปักผัง การวัดระยะ และการทำระดับ

6. งานฐานราก

6.1 งานเสาเข็ม

6.1.1 เสาเข็มชนิดตอก

6.1.2 เสาเข็มชนิดเจาะหล่อในที่

6.1.2.1 การทำเสาเข็มเจาะระบบแห้ง (dry process)

6.1.2.2 การทำเสาเข็มเจาะขนาดใหญ่ระบบเปียก (wet process)

6.1.2.3 การทำเสาเข็มเจาะขนาใหญ่ชนิดขุดด้วยมือ (hand-dug caisson)

6.1.2.4 การทดสอบความสมบูรณ์ของเสาเข็ม (integrity test)

6.1.3 เสาเข็มไมโคร (micropile)

6.1.4 เสาเข็มชนิดอื่น

6.1.4.1 เสาเข็ม ชนิดเจาะนำ (pre-bored pile)

6.1.4.2 เสาเข็มใช้สว่านเจาะแล้วกด

6.1.4.3 เสาเข็มชนิดที่ใช้ตัวเสาเข็มคอนกรีตเองเป็นเสมือนสว่าน

6.1.5 การทดสอบการบรรทุกน้ำหนัก (load test)

6.1.5.1 การทดสอบเสาเข็มโดยวิธี static load test

6.1.5.2 การทดสอบเสาเข็มโดยวิธี hgh-strain dynamic testing

6.2 ฐานรากชนิดไม่มีเสาเข็ม (ฐานรากแผ่)

7. แบบหล่อคอนกรีต

7.1 แบบหล่อทั่วไป

7.2 แบบหล่อสำเร็จรูป

7.3 แบบหล่อชนิดเลื่อนขณะเท (Slip Form)

8. เหล็กเสริมคอนกรีต

8.1 คุณสมบัติ

8.2 ความคลาดเคลื่อนที่ยอมให้

8.3 การขจัดสนิมเหล็ก

8.4 ความผิดพลาดที่เกิดจากการเข้าใจผิด

8.5 การต่อเหล็กเสริม

8.5.1 การต่อเหล็กเส้นโดยวิธีใช้ข้อต่อ (coupler)

9. งานคอนกรีต

9.1 วัสดุที่ใช้ผสมคอนกรีต

9.1.1 ซีเมนต์

9.1.2 มวลรวมละเอิียด

9.1.3 มวลรวมหยาบ

9.1.4 น้ำ

9.1.5 สารผสมเพิ่ม

9.2 การเตรียมการก่อนเทคอนกรีต

9.2.1 การเตรียมการเผื่อการโก่งตัวของแผ่นพื้นและคาน

9.2.2 การเตรียมการเทคอนกรีตในขณะอากาศร้อนจัด

9.2.3 การเตรียมการก่อนเทคอนกรีตห้องใต้ดิน

9.2.3.1 การป้องกันดินแห้ง

9.2.3.1.1 การใช้ sheet pile

9.2.3.1.2 การใช้ jet grouting

9.3 การปฏิบัติขณะเทคอนกรีต

9.3.1 การลำเลียงคอนกรีต

9.3.2 การเทคอนกรีตจากระยะสูง

9.3.3 การเทคอนกรีตฐานรากและองค์อาคารขนาดใหญ่

9.3.3.1 อุณหภูมิของคอนกรีต

9.3.3.2 น้ำหนักของคอนกรีต

9.3.3.3 รอยต่อคอนกรีต

9.3.3.4 ผลกระทบจากภายนอก

9.3.4 การเก็บตัวอย่างคอนกรีต

9.4 การปฏิบัติภายหลังจากเทคอนกรีตแล้ว

9.4.1 การถอดแบบหล่อ

9.4.2 การบ่ม

9.4.2.1 การให้ความชื้นแก่คอนกรีต

9.4.2.2 การป้องกันคอนกรีตสูญเสียความชื้น

9.4.2.3 การใช้ความร้อนช่วยเร่งปฏิกิริยาระหว่างซีเมนต์กับน้ำ

9.4.2.4 การดูแลคอนกรีตหลังการบ่ม

9.5 คอนกรีตผสมสำเร็จ (ready-mixed concrete)

10. โครงสร้างระบบต่าง ๆ นอกเหนือจากคอนกรีตเสริมเหล็กธรรมดา

10.1 การก่อสร้างแผ่นพื้นระบบคอนกรีตอัดแรงชนิดดึงทีหลัง (post-tensioned concrete slab)

10.2 ระบบชิ้นส่วนหล่อสำเร็จ

10.2.1 การควบคุมคุณภาพของชิ้นส่วน

10.2.2 การทำระดับของที่รองรับ

10.2.3 การยกติดตั้ง

10.3 คอนกรีตสุญญากาศ

11. วิธีการก่อสร้างพิเศษ

11.1 การก่อสร้างอาคารสูง

11.1.1 การหดตัวในเสาและผนังรับน้ำหนัก

11.2 การก่อสร้างห้องใต้ดินลึกมาก ๆ

11.2.1 กำแพงพืด (diaphragm wall)

11.2.2 กำแพงระบบเสาเข็มเรียงชิดกัน (continuous pile wall)

11.2.3 กำแพงระบบเสาเข็มซีแคนต์ (secant pile wall)

11.2.4 การก่อสร้างจากบนลงล่าง (top-down construction)

11.3 การก่อสร้างฐานรากอาคารสูงบนชั้นดินลาดเอียง

11.4 การก่อสร้างโครงสร้างเปลือกบาง (thin shell)

11.5 การเร่งงาน

12. สิ่งที่ฝังในคอนกรีต

13. งานโครงสร้างเหล็กรูปพรรณและโครงสร้างไม้

13.1 ขนาดและหนัาตัด

13.2 การเชื่อม

13.3 การยกติดตั้งโครงเหล็ก

13.4 การป้องกันสนิม และป้องกันไฟ

13.5 โครงหลังคาเหล็กชนิดสำเร็จรูป

13.6 โครงสร้างไม้

13.6.1 อันตรายจากสัตว์ต่าง ๆ ที่มีต่อเนื้อไม้

14. การเดินท่อผ่านโครงสร้าง

14.1 วัสดุ

14.2 Sleeve

14.3 การเดินท่อฝังในองค์อาคาร

14.4 การเจาะขนาดใหญ่้ในแผ่นพื้นหรือคานคอนกรีต

14.5 การยึดท่อกับพื้นหรือคาน

14.6 การต่อท่อภายในกับภายนอกอาคาร

14.7 การติดตั้งท่อจากเครื่องปรับอากาศ

14.8 การเดินท่อผ่านพื้นหรือผนัง

14.9 การเดินท่อ และรางระบายน้ำฝน

14.10 ผลกระทบจากรากต้นไม้ที่มีต่อท่อส่วนที่ฝังใต้ดิน

15. งานตกแต่งทางสถาปัตยกรรม

15.1 งานผนังก่อและผนังคอนกรีต

15.1.1 งานอิฐ และคอนกรีตบล็อก

15.1.1.1 การก่ออิฐประดับ

15.1.2 ผนังพ่นด้วยมอร์ตาร์

15.1.3 ผนังคอนกรีตหล่อสำเร็จ

15.2 งานฉาบปูน

15.2.1 วัสดุที่ใช้ผสมปูนฉาบ

15.2.2 กรรมวิธีในการฉาบปูน

15.3 งานหินขัด

15.3.1 ปัญหารอยร้าวในหินขัด

15.3.1.1 รอยร้าวแบบลายงา

15.3.1.2 รอยร้าวทแยงมุม

15.3.1.3 รอยร้าวเกิดจากแรงดัด

15.4 การทำกันซึมบนหลังคา

15.5 งานปูกระเบื้องห้องน้ำ และติดตั้งสุขภัณฑ์

15.6 กระจกประตูหน้าต่าง และวงกบ

15.6.1 กระจก

15.6.1.1 ชนิดของกระจก

15.6.1.2 การขนย้ายและการติดตั้งกระจก

15.6.2 กรอบกระจก และวงกบ

15.6.3 ผนังกระจก (curtain wall)

15.6.4 สรุปสิ่งที่ผู้ควบคุมงานพึงปฏิบัติเกี่ยวกับงานกระจก

15.6.5 กุญแจลูกบิด

15.7 งานทาสี

15.7.1 ชนิดของสี

15.7.2 คุณภาพของสี

15.7.3 วิธีการทาสี

15.8 งานเก็บ และความสะอาด

16. รายงานและระเบียน (report and records)

17. การทำแผนภูมิแสดงความก้าวหน้า (progress chart)

18. สรุปรายการที่ผู้ควบคุมงานจะต้องตรวจสอบโดยย่อตามขั้นตามการก่อสร้าง

19. ภาคผนวก

19.1 ตัวอย่างแผนการทำงาน

19.2 ตัวอย่างรายงานประจำวัน และรายงานประจำสัปดาห์

19.3 ตัีวอย่างแผนภูมิแสดงความก้าวหน้าของงานก่อสร้าง

19.4 ตัวอย่างระเบียนเกี่ยวกับแผนภูมิต่าง ๆ ที่ใช้ในระหว่างก่อสร้าง

19.5 ตัวอย่างระเบียนเกี่ยวกับการตอกเสาเข็มและการทำเสาเข็มเจาะหล่อในที่

19.6 ตัวอย่าง shop drawing สำหรับองค์อาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก