เครื่องกลไฟฟ้า 1 (ฉบับปรับปรุง)

฿230.00

ขายแล้ว 2 เล่ม

ไชยชาญ หินเกิด

พิมพ์ครั้งที่ 29 พฤศจิกายน 2562

จำนวน 276 หน้า

แชร์เล่มนี้

หนังสือเครื่องกลไฟฟ้า 1 ผู้เรียบเรียงได้ตระหนักถึงความสำคัญของการเรียนการสอนในสาขาช่างไฟฟ้าว่าผู้เรียนควรจะมีพื้นฐานอะไรบ้าง เพื่อจะได้เป็นแนวทางที่นำไปสู่การศึกษาระดับสูงขึ้นไปอีก และเพื่อเป็นพืั้นฐานในการประกอบอาชีพต่อไป ซึ่งวิชาดังกล่าว ผู้เรียบเรียงรวบรวมจากใบความรู้ที่แจกให้กับนักศึกษาและจากตำราต่าง ๆ เพิ่มเติม ในฐานะที่ผู้เรียบเรียงทำหน้เาที่สอนจึงได้คิดวิธีการที่จะช่วยเหลือนักศึกษา โดยนำความรู้และประสบการณ์ทั้งหลายในการสอนวิชาเครื่องกลไฟฟ้ามาตั้งแต่ พ.ศ.2519 มาเรียบเรียงเป็นตัวหนังสือ เพื่อให้นักศึกษาและผู้สนใจได้ใช้ค้นคว้าอันจะก่อให้เกิดประโยชน์อย่างแท้จริง

หนังสือเครื่องกลไฟฟ้า 1 ประกอบด้วย เครื่องกลไฟฟ้ากระแสตรง เครื่องกำเนิดไฟฟ้ากระแสตรง มอเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรง การเริ่มเดินมอเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรง หม้อแปลงไฟฟ้าเฟสเดียว หม้อแปลงไฟฟ้า 3 เฟส หนังสือเล่มนี้นอกจากจะเหมาะกับนักเรียนนักศึกษาในระดับ ปวส. ยังเหมาะกับบุคคลทั่วไปที่สนใจจะศึกษาอีกด้วย

บทที่ 1 เครื่องกลไฟฟ้ากระแสตรง

1.1  ชนิดของเครื่องกลไฟฟ้ากระแสตรง

1.2  โครงสร้างอขงเครื่องกลไฟฟ้ากระแสตรง

1.2.1  ส่วนที่อยู่กับที่

1.2.2  ส่วนที่เคลื่อนที่

บทที่ 2 เครื่องกำเนิดไฟฟ้ากระแสตรง

2.1    ชนิดของเครื่องกำเนิดไฟฟ้ากระแสตรง

2.2    การคำนวณหาแรงดันไฟฟ้าเหนี่ยวนำในเครื่องกำเนิดไฟฟ้ากระแสตรง

2.3    แรงดันไฟฟ้าเหนี่ยวนำหรือสมการแรงดันไฟฟ้ฟาเหนี่ยวนำของเครื่องกำเนิดไฟฟ้ากระแสตรง

2.4    การสูญเสียในเครื่องกำเนิดไฟฟ้ากระแสตรง

2.5    ตำแหน่งของกำลังในเครื่องกำเนิดไฟฟ้ากระแสตรง

2.6    ประสิทธิภาพ

2.7    อาร์เมเจอร์รีแอกชัน

2.8    การแก้อาร์เมเจอร์รีแอกชัน

2.9    การขนานเครื่องกำเนิดไฟฟ้ากระแสตรง

2.10  คุณลักษณะของเครื่องกำเนิดไฟฟ้ากระแสตรง

2.11  ความต้านทานวิกฤตสำหรับเครื่องกำเนิดไฟฟ้ากระแสตรงแบบชันต์

2.12  ความเร็ววิกฤตสำหรับเครื่องกำเนิดไฟฟ้ากระแสตรงแบบชันต์

2.13  การคำนวณหาจำนวนรอบของขดชีรีส์ฟิลด์

2.14  โวลต์เตจเรกูเลชั่น

บทที่ 3 มอเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรง

3.1    หลักการของมอเตอร์

3.2    แรงดันไฟฟ้าต้านกลับ

3.3    สมการของแรงดันไฟฟ้าต้านกลับในมอเตอร์

3.4    สภาวะสำหรับการเกิดประสิทธิภาพสูงสุด

3.5    แรงบิด

3.5.1  แรงบิดในอาร์เมเจอร์

3.5.2  แรงบิดที่เพลาของมอเตอร์

3.6    ความเร็วรอบของมอเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรง

3.9    ข้อดีและข้อเสียของชันต์มอเตอร์

3.10  ข้อดีและข้อเสียของซีรีศืมอเตอร์

3.11  การสูญเสียและประสิทธิภาพของมอเตอร์

3.12  ตำแหน่งของกำลังในมอเตอร์ ไฟฟ้ากระสนครง

3.13   การควบคุมความเร็วของมอเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรง

3.14  การเริ่มเดินมอเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรง

บทที่ 4 การเริ่มเดินมอเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรง

4.1  แบบทรีพอยต์สตาร์ตเตอร์หรือสตาร์ตเตอร์แบบสามจุด

4.2  แบบโฟร์พอยต์สตาร์ตเตอร์หรือสตาร์ตเตอร์แบบสี่จุด

4.3  การเริ่มเดินมอเตอร์ด้วยวิธีการลดแรงดันไฟฟ้าหรือการควบคุมแรงดันไฟฟ้า

4.4  การคำนวณหาค่าของความต้านทานสำหรับสตาร์มอเตอร์

บทที่ 5 หม้อแปลงไฟฟ้าเฟสเดียว

5.1  หลักการของหม้อแปลงไฟฟ้า

5.2  สมการแรงดันไฟฟ้าเหนี่ยวนำของหม้อแปลงไฟฟ้า

5.3  อัตราส่วนการเปลี่ยนแปลงของแรงดันไฟฟ้า

5.4  หม้อแปลงไฟฟ้าในขณะไม่มีโหลด

5.5  หม้ดแปลงไฟฟ้าในขณะที่มีโหลด

5.6  ความต้านทานสมมูล

5.7  เส้นแรงแม่เหล็กรั่วไหล

5.8  พิจารณาความต้านทานและลีกเกจรีแอกแตนช์ของหม้อแปลงไฟฟ้า

5.9  ไดอะแกรมอย่างง่าย

5.10  วงจรสมมูลหรือวงจรเทียบเคียงในหม้อแปลงไฟฟ้า

5.11  การทดสอบหม้อแปลงไฟฟ้า

5.12  เรกูเลชันของหม้อแปลงไฟฟ้า

5.13  เปอร์เซนต์ของความต้านทาน รีแอกแตนช์ และอิมพีแดนช์

5.14  ประสิทธิภาพของหม้อแปลงไฟฟ้า

5.15  ประสิทธิภาพตลอดวัน

5.16  การขนานหม้อแปลงไฟฟ้า

5.17  หม้อแปลงไฟฟ้าร่วมขดลวด

5.18  การเปลี่ยนหม้อแปลงไฟฟ้าแบบ 2 ชดลวดเป็นหม้อแปลงไฟฟ้าแบบออโต

บทที่ 6 หม้อแปลงไฟฟ้า 3 เฟส

6.1  การต่อแบบเดลตา-เดลตา

6.2  การต่อแบบสตาร์-สตาร์

6.3  กาาต่อแบบเดลตา-สตาร์

6.4  การต่อแบบสตาร์-เดลตา

6.5  กาาต่อแบบโอเพ่นเดลตา