เขียนแบบเครื่องกล 002

฿90.00

เขียนแบบเครื่องกล 002 เส้นที่ใช้ในการเขียนแบบ การอ่านและเขียนภาพไอโซเมตริค การฉายภาพมุมที่ 1 การอ่านภาพฉายของงานทรงเหลี่ยมอย่างง่าย การกำหนดขนาดความยาว

แชร์เล่มนี้

ผู้เขียน
อ.สุชาติ ศิริสุขไพบูลย์ และคณะ
สำนักพิมพ์
มจพ.

ปีที่พิมพ์
ครั้งที่ 13 มิถุนายน 2562

รหัสสินค้า
0567
หมวดหนังสือ
เครื่องกล

เขียนแบบเครื่องกล 002
ในระยะเวลาสองสามปีที่ผ่านมา สำนักงานผลิตภัณฑ์มาตรฐานงานอุตสาหกรรมได้กำหนดมาตรฐานสำหรับงานเขียนแบบเครื่องกลเพื่อในประเทศไทย ผู้แต่งจึงได้นำกำหนดมาตรฐานนี้มาใช้ในหนังสือเล่มนี้ เพื่อฝึกหัดให้ผุ้เรียนได้คุ้นเคย และใช้กำหนดมาตรฐานของกระทรวงอุตสาหกรรมให้เป็นที่แพร่หลาย

สำหรับมาตรฐานงานอุตสาหกรรมนี้ใช้หลักการฉายภาพตามระบบการฉายภาพมุมที่ 1 (First angle-Projection) ซึ่งของเดิมตามหนังสือเขียนแบบเครื่องกลเล่มนี้ได้ใช้อยู่แล้ว ส่วนที่ได้แก้ไขก็คือ การกำหนดขนาดที่กำหนดให้ใช้ตัวเลขกำหนดขนาดไว้เหนือเส้นให้ขนาด ทั้งนี้เพื่อความสะดวกในการเขียนแบบนั่นเอง

บทที่ 1
1.1 เส้นที่ใช้ในการเขียนแบบ
1.2 การอ่านและเขียนภาพไอโซเมตริค

บทที่ 2
2.1 การฉายภาพมุมที่ 1
2.2 การอ่านภาพฉายของงานทรงเหลี่ยมอย่างง่าย

บทที่ 3
3.1 การเขียนภาพฉายของงานทรงเหลี่ยมอย่างง่าย

บทที่ 4
4.1 การอ่านและเขียนภาพฉายของงานทรงเหลี่ยมแบบตัดตรง

บทที่ 5
5.1 การอ่านภาพฉายของงานทรงเหลี่ยมแบบตัดตรง
5.2 การอ่านภาพฉายของงานกล่องไม้ขีด
5.3 การอ่านภาพฉายของงานเส้นลวด

บทที่ 6
6.1 การกำหนดขนาดความยาว
6.2 การกำหนดขนาดพิกัดความเผื่อ
6.3 การกำหนดสัญญลักษณ์ผิวงาน

บทที่ 7
7.1 การอ่านภาพฉายของงานทรงเหลี่ยมแบบตัดตรง

บทที่ 8
8.1 การเขียนภาพฉายของงานทรงเหลี่ยมแบบตัดตรง-เฉียง
8.2 การอ่านภาพฉายของงานทรงเหลี่ยมแบบตัดตรง

บทที่ 9
9.1 การอ่านภาพฉายของงานทรงเหลี่ยมแบบตัดตรง
9.2 การอ่านภาพฉายของงานทรงเหลี่ยมแบบตัดเฉียง

บทที่ 10
10.1 ภาพฉายของงานทรงเหลี่ยมที่มีฐานเป็นรูปสามเหลี่ยม
10.2 ภาพฉายของงานทรงเหลี่ยมที่มีฐานเป็นรูปสี่เหลี่ยม
10.3 ภาพฉายของงานทรงเหลี่ยมที่มีฐานเป็นรูปหกเหลี่ยม
10.4 การอ่านและเขียนภาพฉายของงานทรงปีรามิดแบบตัดตรง
10.5 การอ่านภาพฉายของงานทรงเหลี่ยมแบบตัดเฉียง

บทที่ 11
11.1 การอ่านภาพฉายของงานทรงกระบอกแบบตัดตรง
11.2 การเขียนภาพฉายของงานทรงกระบอกแบบตัดตรง

บทที่ 12
12.1 การเขียนภาพฉายของงานทรงกระบอกแบบตัดตรง

บทที่ 13
13.1 การอ่านภาพฉายของงานทรงกลมแบบตัดตรง
13.2 การเขียนภาพฉายของงานทรงกลมแบบตัดตรง
13.3 การอ่านและเขียนภาพฉายของงานหลายรูปทรง

บทที่ 14
14.1 การกำหนดขนาดมุม
14.2 การกำหนดขนาดรัศมี
14.3 การกำหนดขนาดผ่านศูนย์กลาง
14.4 แบบฝึกหัดการกำหนดขนาด
14.5 แบบฝึกหัดการอ่านแบบชิ้นงาน
14.6 ข้อทดสอบการกำหนดขนาด