ทฤษฏีงานโลหะ (Fachkunde Metall)

฿300.00

ทฤษฏีงานโลหะ (Fachkunde Metall) เทคนิคการตรวจสอบชิ้นงานเทคนิคการผลิตบางส่วนของเครื่องจักรกลและอุปกรณ์บางส่วนของเทคนิคอัตโนมัติในส่วนของการควบคุม CNC

แชร์เล่มนี้

แปลและเรียบเรียง
รศ.บรรเลง ศรนิล

สำนักพิมพ์
มจพ.

ปีที่พิมพ์
ครั้งที่ 1 พ.ศ.2555

ISBN
9746207806

รหัสสินค้า
0572
หมวดหนังสือ
เครื่องกล

ทฤษฏีงานโลหะ (Fachkunde Metall)

หนังสือทฤษฏีงานโลหะเล่มนี้ใช้สำหรับการศึกษาและการค้นคว้าหาความรู้ในงานสร้างเครื่องจักรกล

กลุ่มป้าหมายคือ

  • ช่างฝีมือและช่างอุตสาหกรรม
  • ช่างแมคคานิคกาผลิต
  • ช่างใช้เครื่องจักรกลทำงานตัดเฉือน
  • ช่างเขียนแบบ
  • การเรียนเป็นนายช่าง (Meister) และช่างเทคนิค
  • ผู้ชำนาญการในงานฝีมือและอุตสาหกรรม
  • นักศึกษา

หนังสือทฤษฏีงานโลหะเล่มนี้แปลเรียบเรียงมาจากหนังสือภาษาเยอรมัน Fachkunde Metall ของสำนักพิมพ์ Europa-Lehrmittel ฉบับที่ 54-56 รวมกัน เนื่องจากเนื้อหาในหนังสือสามฉบับเปลี่ยนแปลงน้อยมาก มีสิ่งใหม่ ๆ ที่เสริมเข้ามา ประมาณ 20 หน้า ซึ่งข้าพเจ้าตั้งใจจะนำมาสอดใส่ไว้ในเล่มนี้ทั้งหมด แต่หนังสือเล่มนี้มีความหนาถึง 587 หน้า จึงได้นำเอาส่วนที่เห็นว่ามีความสำคัญและจำเป็นมาเผยแพร่ในประเทศไทยก่อน และกำลังดำเนินการแปลต่อไปในจบเล่มในที่สุด จึงเรียกหนังสือเล่มนี้ว่า ทฤษฏีงานโลหะภาค 1 สำหรับเนื้อหาที่นำมาแปลเรียบเรียงไว้ในเล่มนี้ ได้แก่

  • เทคนิคการตรวจสอบชิ้นงาน
  • เทคนิคการผลิต
  • บางส่วนของเครื่องจักรกลและอุปกรณ์
  • บางส่วนของเทคนิคอัตโนมัติในส่วนของการควบคุม CNC

เนื้อหาสาะของหนังสือทฤษฏีงานโลหะเล่มนี้ มุ่งเน้นในด้านเทคโนโลยีสมัยใหม่ในการผลิตชิ้นส่วนโลหะที่มีมาตรฐษน (NORM) และมีความละเอียดแม่นยำสูง (Percision) ที่นำไปเป็นชิ้นส่วนของเครื่องมือ เครื่องจักร และอุปกรณ์ต่าง ๆ ในอุตสาหกรรม

1. เทคนิคการวัดตรวจสอบความยาว

ขนาดและหน่วยต่าง ๆ

พื้นฐานเทคนิคการวัด

  • คำศัพท์พื้นฐาน
  • ความคลาดเคลื่อนในการวัด
  • ขีดความสามารถของอุปกรณ์วัด, การตรวจสอบอุปกรณ์ตรวจสอบ

อุปกรณ์ตรวจสอบความยาว

  • บรรทัด, เกจและบล็อกเกจ
  • เครื่องมือวัดเชิงกลและอิเล็กทรอนิกส์
  • เครื่องมือวัดนิวแมติก
  • เครื่องวัดอิเลกทรอนิกส์
  • เครื่องมือวัด Optoelectronic
  • เทคนิคการใช้ Multisensor
  • ในเครืองมือวัด Coordinate

การตรวจสอบผิวงาน

  • รูปพรรณของผิว
  • ขนาดต่าง ๆ ของผิว
  • กรรมวิธีตรวจสอบผิว

พิกัดเผื่อการการสวม

  • พิกัดเผื่อ (Tolerence)
  • การสวม (Fit)

การตรวจสอบรูปทรงและตำแหน่ง

  • พิกัดรูปทรงและตำแหน่ง
  • การตรวจสอบความราบของผิวและมุม
  • การตรวจสอบความกลม, การร่วมศูนย์และการวัดรอบชิ้นงาน
  • การตรวจสอบเกลียว
  • การตรวจสอบความเรียว

การจัดการคุณภาพ

  • ความต้องการด้านคุณภาพ
  • คำสำคัญของคุณภาพและข้อผิดพลาด
  • การตรวจสอบคุณภาพ
  • การตรวจสอบคุณภาพโดยกรรมวิธีสุ่มตรวจ
  • การควบคุมคุณภาพ (QC)
  • การควบคุมกระบวนการทางสถิติด้วยการ์ดควบคุมคุณภาพ (SPC)
  • ขีดความสามารถและความสามารถและกระบวนการ

2. เทคนิคการผลิต

ความปลอดภัยในการทำงาน

กรรมวิธีการผลิต, การแบ่งประเภท

การหล่อ

  • การทำแบบและกระสวน
  • การหล่อในแบบใช้ครั้งเดียว
  • การหล่อในแบบถาวร
  • วัสดุที่ใช้หล่อ
  • ข้อบกพร่องในชิ้นงานหล่อ

การขึ้นรูป

  • คุณสมบัติของวัสดุ
  • ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกรรมวิธีขึ้นรูป
  • การขึ้นรูปโดยการดัด
  • การขึ้นรูปโดยการกดยึด
  • การขึ้นรูปโดยการกด
  • เครื่องขึ้นรูป

การตัด

  • การตัดด้วยกรรไกร
  • การตัดด้วยเปลว

การผลิตโดยการตัดเฉือน

  • พื้นฐานของงานตัดเฉือน
  • การเลื่อย
  • การเจาะ, การเจาะฝัง, การปาดเรียบ
  • การกลึง
  • การกัด
  • การเจียระไน
  • การทำงานละเอียด
  • การสปาร์คด้วยไฟฟ้า (Spark erosion)
  • แบบบังคับและอุปกรณ์จับยึด (Jigs & Fixtures)
  • ตัวอย่างการผลิต “อุปกรณ์จับยึด”

การประสาน

  • ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกรรมวิธีประสาน
  • การประสานโดยการอัดและการล็อค
  • การติดกาว
  • การบัดกรี
  • การเชื่อมประสาน

การเคลือบผิว

โรงงานผลิตและการรักษาสิ่งแวดล้อม

3. อุปกรณ์ช่วยงานผลิต

อุปกรณ์การผลิตต่าง ๆ

  • อุปกรณ์ช่วยงานต่าง ๆ
  • อุปกรณ์การผลิตแบบยืดหยุ่น (Flexible manufacturing equipment)

4. เครื่องจักรกลควบคุมด้วย CNC

การควบคุมด้วย CNC

  • คุณลักษณะของเครื่องจักรกลควบคุมด้วย CNC
  • โคออร์ดิเนท, จุดศูนย์และอ้างอิง
  • วิธีการควบคุม, ค่าชดเชยต่าง ๆ
  • การเขียนโปรแกรม CNC
  • วัฏจักรและโปรแกรมย่อย (Cylic and Subroutine)
  • การโปรแกรมเครื่องกลึง NC
  • การโปรแกรมเครื่องกัด NC
  • กรรมวิธีการทำโปรแกรม