วัสดุงานช่างอุตสาหกรรม

฿140.00

วัสดุงานช่างอุตสาหกรรม กรรมวิธีการผลิตเหล็ก โลหะที่เป็นเหล็ก โลหะที่ไม่ใช่เหล็ก โลหะผสม อโลหะ มาตรฐานเหล็กในงานอุตสาหกรรม วัสดุหล่อลื่นและวัสดุหล่อเย็น

แชร์เล่มนี้

ผู้เรียบเรียง
สุเทพ นุชิต
สำนักพิมพ์
เมืองไทย

ปีที่พิมพ์
พิมพ์ครั้งที่ 1
เมษายน 2562
ISBN
9786162815423

รหัสสินค้า
0654
หมวดหนังสือ
ก่อสร้าง

วัสดุงานช่างอุตสาหกรรม (Industrial Materials) รหัสวิชา 20100-1002

หน่วยที่ 1 วัสดุในงานช่างอุตสาหกรรม
1.1 ความหมายของวัสดุในงานช่างอุตสาหกรรม
1.2 ประเภทของวัสดุในงานช่างอุตสาหกรรม
1.3 หลักการเลือกใช้วัสดุในงานช่างอุตสากรรม
1.4 คุณสมบัติของวัสดุในงานช่างอุตสาหกรรม
1.5 ความหมายการจัดเก็บวัสดุในงานช่างอุตสาหกรรม
1.6 ประเภทการจัดเก็บวัสดุในงานช่างอุตสาหกรรม
1.7 การแบ่งพื้นที่การจัดเก็บวัสดุในงานช่างอุตสาหกรรม
1.8 สัญลักษณ์ความปลอดภัยในการจัดเก็บวัสดุในงานช่างอุตสาหกรรม
1.9 เทคนิค 5 ส เพื่อดำเนินกิจกรรมทำความสะอาด

หน่วยที่ 2 กรรมวิธีการผลิตเหล็ก
2.1 ความหมายของสินแร่เหล็ก
2.2 ชนิดของสินแร่เหล็ก
2.3 ขั้นตอนการผลิตเหล็กกล้าจากสินแร่
2.4 การถลุงสินแร่ให้เป็นเหล็กดิบด้วยเตาสูง
2.5 การผลิตเหล็กด้วยเตาชนิดต่าง ๆ
2.6 การขึ้นรูปและคุณสมบัติเหล็กกล้า
2.7 คุณสมบัติของธาตุที่ใช้ผสมในเหล็กกล้า

หน่วยที่ 3 โลหะที่เป็นเหล็ก
3.1 ประเภทของโลหะ
3.2 ความหมายของโลหะที่เป็นเหล็ก
3.3 เหล็กกล้า
3.4 เหล็กหล่อ

หน่วยที่ 4 โลหะที่ไม่ใช่เหล็ก
4.1 ความหมายของโลหะที่ไม่ใช่เหล็ก
4.2 โลหะหนัก
4.3 โลหะเบา

หน่วยที่ 5 โลหะผสม
5.1 ความหมายของโลหะผสม
5.2 โลหะหนักผสม
5.3 โลหะเบาผสม
5.4 ความหมายของโลหะซินเตอร์
5.5 วัตถุดิบที่นำมาผลิตเป็นโลหะซินเตอร์
5.6 กระบวนการผลิตโลหะแบบซินเตอร์
5.7 คุณสมบัติของโลหะซินเตอร์

หน่วยที่ 6 อโลหะ
6.1 ความหมายของอโลหะ
6.2 ประเภทของอโลหะ
6.3 วัสดุธรรมชาติ
6.4 วัสดุสังเคราะห์

หน่วยที่ 7 มาตรฐานเหล็กในงานอุตสาหกรรม
7.1 ความหมายของมาตรฐานเหล็ก
7.2 ความสำคัญของมาตรฐานเหล็ก
7.3 การจำแนกมาตรฐานเหล็ก
7.4 การจำแนกเหล็กตามพื้นที่หน้าตัด

หน่วยที่ 8 วัสดุเชื้อเพลิง
8.1 ความหมายของวัสดุเชื้อเพลิง
8.2 ประเภทของวัสดุเชื้อเพลิง
8.3 การใช้งานของแก๊ส

หน่วยที่ 9 วัสดุหล่อลื่นและวัสดุหล่อเย็น
9.1 ความหมายของวัสดุหล่อลื่น
9.2 ประเภทของวัสดุหล่อลื่น
9.3 ความหมายของวัสดุหล่อเย็น
9.4 ประเภทของวัสดุหล่อเย็น

หน่วยที่ 10 วัสดุก่อสร้าง
10.1 ความหมายของวัสดุก่อสร้าง
10.2 ชนิดและประโยชน์ของวัสดุก่อสร้าง

หน่วยที่ 11 วัสดุไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์
11.1 ความหมายของวัสดุไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์
11.2 ชนิดของวัสดุไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์
11.3 แหล่งกำเนิดของไฟฟ้า
11.4 ประเภทของไฟฟ้า
11.5 อุปกรณ์ไฟฟ้า
11.6 อุปกรณ์ป้องกันอันตรายเมื่อกระแสไฟเกินอัตรา
11.7 วัสดุอุปกรณ์ในงานอิเล็กทรอนิกส์
11.8 เครื่องใช้ไฟฟ้า

หน่วยที่ 12 การกัดกร่อนและการป้องกัน
12.1 ความหมายและสาเหตุของการกัดกร่อน
12.2 ประเภทของการกัดกร่อน
12.3 การป้องกันการกัดกร่อน

หน่วยที่ 13 การตรวจสอบวัสดุเบื้องต้น
13.1 ความหมายของการตรวจสอบวัสดุ
13.2 ประเภทของการตรวจสอบวัสดุ

แบบฝึกหัดหน่วย 1-13
แบบทดสอบหลังเรียนหน่วย 1-13
บรรณานุกรม