ออกแบบโครงสร้างไม้และเหล็ก

฿250.00

ออกแบบโครงสร้างไม้และเหล็ก ความรู้ทั่วไปในการออกแบบโครงสร้างไม้และเหล็ก คานและตงสำหรับอาคารไม้ การออกแบบองค์อาคารรับแรงดึงและแรงอัด โครงหลังคาเหล็ก

แชร์เล่มนี้

ผู้เขียน
รศ.มนัส อนุศิริ
สำนักพิมพ์
ซีเอ็ด

ปีที่พิมพ์
พ.ศ.2566
จำนวน
368 หน้า
ISBN
9786160850532

รหัสสินค้า
0659
หมวดหนังสือ
ก่อสร้าง

ออกแบบโครงสร้างไม้และเหล็ก

บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปในการออกแบบโครงสร้างไม้และเหล็ก
1.1 ความรู้พื้นฐานในการออกแบบ
1.2 น้ำหนักที่กระทำกับโครงสร้าง
1.3 ลักษณะของน้ำหนักที่กระทำบนโครงสร้าง
1.4 หน่วยแรงที่ยอมให้ในการก่อสร้าง

บทที่ 2 ความรู้เบื้องต้นของไม้
2.1 รูปตัดลำต้นไม้
2.2 ประเภทของไม้
2.3 ตำหนิของไม้
2.4 กลสมบัติของไม้
2.5 ปัจจัยที่มีผลต่อกำลังของไม้
2.6 การแบ่งประเภทและขนาดของไม้สำหรับโครงสร้าง
2.7 มาตรฐานไม้ก่อสร้าง
2.8 เกณฑ์จำกัดข้อบกพร่องในเนื้อไม้
2.9 การเก็บและส่งตัวอย่างไม้เพื่อทดสอบคุณภาพ

บทที่ 3 คานและตงสำหรับอาคารไม้
3.1 ความต้านทานต่อแรงดัด
3.2 ความต้านทานต่อแรงเฉือน
3.3 ความต้านทานต่อแรงกด
3.4 การโก่งของคานในแนวดิ่ง
3.5 คานประกอบ
3.6 สัมประสิทธิ์ของความลึก
3.7 สัมประสิทธิ์ของรูปตัด
3.8 คานเอียง

บทที่ 4 การออกแบบองค์อาคารรับแรงดึงและแรงอัด
4.1 องค์อาคารรับแรงดึง
4.2 องค์อาคารรับแรงอัด
4.3 เสาประกอบตัน
4.4 เสาประกอบไม้แผ่น
4.5 เสากลม
4.6 องค์อาคารรับแรงตามแนวแกนและแรงดัดพร้อมกัน

บทที่ 5 โครงหลังคาไม้
5.1 ประเภทของโครงหลังคาไม้
5.2 โครงหลังคาแบบต่างๆ
5.3 น้ำหนักที่กระทำกับโครงหลังคา
5.4 การออกแบบแปไม้
5.5 การออกแบบโครงหลังคาไม้

บทที่ 6 รอยต่อโครงสร้างไม้
6.1 อุปกรณ์ยึดไม้
6.2 แรงถอนของตะปูและตะปูอ้วย
6.3 แรงถอนของตะปูควงและตะปูเกลียว
6.4 ความต้านทานด้านข้างของตะปู ตะปูควง และตะปูเกลียว
6.5 สลักเกลียว
6.6 แหวนยึดไม้แบบวงแหวนผ่า
6.7 สูตรของฮันกินสัน
6.8 สลักไม่มีเกลียวหรือลิ่มเหล็ก

บทที่ 7 ความรู้ทั่วไปของเหล็กรูปพรรณ
7.1 คุณสมบัติของเหล็กรูปพรรณ
7.2 มาตรฐานการออกแบบโครงสร้างเหล็ก
7.3 เหล็กรูปพรรณ
7.4 หน่วยแรงที่ยอมให้ตาม พ.ร.บ. ควบคุมอาคาร พ.ศ.2522

บทที่ 8 องค์อาคารรับแรงดึง
8.1 รูปตัดองค์อาคารรับแรงดึง
8.2 การคำนวณองค์อาคารรับแรงดึง
8.3 มาตรฐานที่กำหนด
8.4 พื้นที่หน้าตัดสุทธิ

บทที่ 9 องค์อาคารรับแรงอัด
9.1 องค์อาคารรับแรงอัด
9.2 การคำนวณองค์อาคารรับแรงอัด
9.3 หน่วยแรงอัดที่ยอมให้
9.4 ช่วงความยาวประสิทธิผล
9.5 วิธีคำนวณองค์อาคารรับแรงอัด
9.6 เสาประกอบกัน
9.7 ตัวประกอบความยาวประสิทธิผลในโครงข้อแข็ง
9.8 เสาที่มีการค้ำยัน

บทที่ 10 องค์อาคารรับแรงดัด
10.1 หน่วยแรงอัด
10.2 หน่วยแรงเฉือน
10.3 มาตรฐานกำหนด
10.4 วิธีคำนวณออกแบบองค์อาคารรับแรงดัด
10.5 คานต่อเนื่อง
10.6 แผ่นเหล็กรองใต้คาน
10.7 องค์อาคารรับแรงแนวแกนและแรงดัดร่วมกัน

บทที่ 11 โครงหลังคาเหล็ก
11.1 ประเภทของโครงหลังคา
11.2 ตัวอย่างโครงหลังคาแบบต่าง ๆ
11.3 น้ำหนักที่กระทำกับโครงหลังคา
11.4 การออกแบบแปเหล็ก
11.5 การออกแบบโครงหลังคาเหล็ก

บทที่ 12 การต่อโครงสร้างเหล็ก
12.1 การต่อโครงสร้างเหล็ก
12.2 การต่อโดยใช้หมุดย้ำหรือสลักเกลียว
12.3 การต่อโครงสร้างโดยการเชื่อม
12.4 การออกแบบมาตรฐานรองรับต่าง ๆ

ภาคผนวก ก. ค่าที่ใช้ในการออกแบบสำหรับโครงสร้างไม้
ภาคผนวก ข. ค่าที่ใช้ในการออกแบบสำหรับโครงสร้างเหล็ก
ภาคผนวก ค. สูตรในการหาค่าโมเมนต็แรงเฉือนและระยะโก่งของคาน
ภาคผนวก ง. สูตรในการคำนวณตรีโกณมิติและคุณสมบัติรูปทรงเรขาคณิต