กระบวนการเชื่อม รหัสวิชา 20103-2008

฿135.00

ขายแล้ว 1 เล่ม

กระบวนการเชื่อม รหัสวิชา 20103-2008 กระบวนการเชื่ออาร์กด้วยลวดเชื่อมหุ้มฟลักซ์ กระบวนการเชื่อมแก๊ส กระบวนการเชื่อมอาร์กทังสเตนแก๊สคลุมหรือการเชื่อมทิก

แชร์เล่มนี้

ผู้เขียน
ดร.วิทยา อินทร์สอน
สำนักพิมพ์
เมืองไทย

ปีที่พิมพ์
พิมพ์ครั้งที่ 1
เมษายน 2562
จำนวน
280 หน้า
ISBN
9786162815720

รหัสสินค้า
0663
หมวดหนังสือ
เครื่องกล

กระบวนการเชื่อม รหัสวิชา 20103-2008

หน่วยที่ 1 กระบวนการเชื่ออาร์กด้วยลวดเชื่อมหุ้มฟลักซ์
1.1 บทนำ
1.2 หลักการกระบวนการเชื่อมอาร์กด้วยเชื่อมหุ้มฟลักซ์
1.3 ลวดเชื่อมหุ้มฟลักซ์
1.4 อันตรายจากการเชื่อมอาร์กด้วยลวดเชื่อมหุ้มฟลักซ์
1.5 การต่อวงจรขั้วไฟฟ้าเครื่องเชื่อม
1.6 เครื่องเชื่อมไฟฟ้า
1.7 วัฏจักรการทำงานของเครื่องเชื่อม
1.8 เครื่องมือและอุปกรณ์ในงานเชื่อม
1.9 องค์ประกอบกระบวนการเชื่อมอาร์กด้วยลวดเชื่อมหุ้มฟลักซ์

หน่วยที่ 2 กระบวนการเชื่อมแก๊ส
2.1 บทนำ
2.2 หลักการกระบวนการเชื่อมแก๊สออกซิอะเซทิลีน
2.3 การผลิตแก๊สอะเซทิลีน
2.4 การผลิตแก๊สออกซิเจน
2.5 เปลวไฟในการเชื่อมแก๊ส
2.6 เครื่องมือและอุปกรณ์ในงานเชื่อมแก๊ส
2.7 การส่ายหัวทิพ
2.8 เทคนิคการเชื่อมแก๊ส
2.9 ชนิดของรอยต่อ

หน่วยที่ 3 กระบวนการเชื่อมอาร์กทังสเตนแก๊สคลุมหรือการเชื่อมทิก
3.1 บทนำ
3.2 หลักการกระบวนการเชื่อมอาร์กทังสเตนแก๊สคลุมหรือการเชื่อมทิก
3.3 ข้อดีและข้อเสียของการเชื่อมอาร์กทังสเตนแก๊สคลุมหรือการเชื่อมทิก
3.4 เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ในการเชื่อมอาร์กทังสเตนแก๊สคลุมหรือการเชื่อมทิก
3.5 อิเล็กโทรดทังสเตนและลวดเติม
3.6 ตัวแปรสำคัญในการเชื่อมอาร์กทังสเตนแก๊สคลุมหรือการเชื่อมทิก
3.7 ปัญหาที่เกิดขึ้นกับการเชื่อมอาร์กทังสเตนแก๊สคลุมหรือการเชื่อมทิก

หน่วยที่ 4 กระบวนการเชื่อมอาร์กโลหะแก๊สปกคลุมหรือการเชื่อมมิก
4.1 บทนำ
4.2 หลักการกระบวนการเชื่อมอาร์กโลหะแก๊สปกคลุมหรือการเชื่อมมิก
4.3 ข้อดีและข้อเสียของการเชื่อมอาร์กโลหะแก๊สปกคลุมหรือการเชื่อมมิก
4.4 อุปกรณ์ที่ใช้ในการเชื่อมอาร์กโลหะแก๊สปกคลุมหรือการเชื่อมมิก
4.5 แกีศปกคลุมและการถ่ายโอนน้ำโลหะ
4.6 ลวดเชื่อมที่ใช้ในกระบวนการเชื่อมอาร์กโลหะแก๊สปกคลุมหรือการเชื่อมมิก
4.7 กระแสเชื่อมและแรงดันเชื่อม
4.8 ทิศทางการเดินแนวเชื่อมของการเชื่อมอาร์กโลหะแก๊สปกคลุม
4.9 ข้อบกพร่องของแนวเชื่อมในงานเชื่อมอาร์กโลหะแก๊สคลุม

หน่วยที่ 5 กระบวนการเชื่อมฟลักซ์คอร์หรือกระบวนการเชื่อมด้วยลวดเชื่อมไส้ฟลักซ์
5.1 บทนำ
5.2 หลักการกระบวนการเชื่อมฟลักซ์คอร์
5.3 ข้อดีและข้อเสียของการเชื่อมฟลักซ์คอร์
5.4 เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ในกระบวนการเชื่อมฟลักซ์คอร์
5.5 ลวดเชื่อมสำหรับการเชื่อมฟลักซ์คอร์
5.6 เทคนิคการเชื่อมฟลักซ์คอร์
5.7 ระยะยื่นของลวดเชื่อมฟลักซ์คอร์
5.8 อันตรายที่เกิดขึ้นจากการเชื่อมฟลักซ์คอร์
5.9 ปัญหาในการเชื่อมฟลักซ์คอร์

หน่วยที่ 6 กระบวนการเชื่อมอาร์กใต้ฟลักซ์หรือการเชื่อมซับเมอร์จ
6.1 บทนำ
6.2 หลักการกระบวนการเชื่อมฟลักซ์ฟลัซคอร์
6.3 ข้อดีและข้อเสียของการเชื่อมอาร์กใต้ฟลักซ์
6.4 เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ในกระบวนการเชื่อมอาร์กใต้ฟลักซ์
6.5 ลวดเชื่อมสำหรับการเชื่อมอาร์กใต้ฟลักซ์
6.6 การเก็บรักษาลวดเชื่อมอาร์กใต้ฟลักซ์
6.7 ฟลักซ์หรือผงเชื่อมซับเมอร์จ
6.8 ตัวแปรที่มีผลต่อการปฏิบัติการเชื่อมอาร์กใต้ฟลักซ์

หน่วยที่ 7 แก๊สปกคลุมที่ใช้ในงานเชื่อม
7.1 บทนำ
7.2 ความหมายของแก๊สปกคลุม
7.3 วัตถุประสงค์ของการใช้แก๊สปกคลุม
7.4 ประโยชน์ของการใช้แก๊สปกคลุมแนวเชื่อม
7.5 ชนิดของแก๊สปกคลุม
7.6 คุณสมบัติของแก๊สปกคลุม
7.7 การพิจารณาเลือกใช้แก๊สปกคลุม

หน่วยที่ 8 ตำแหน่งท่าเชื่อมและรอยต่อในงานเชื่อม
8.1 บทนำ
8.2 ตำแหน่งท่าเชื่อมและตำแหน่งท่าเชื่อมที่กำหนดโดยมาตรฐานอเมริกัน (AWS)
8.3 ตำแหน่งท่าเชื่อมตามมาตรฐานสากล ISO 6974 มาตรฐาน ISO 6974/1990
8.4 รอยต่อในงานเชื่อม
8.5 แนวเชื่อมบากร่องและการออกแบบรอยต่อบากร่องในงานเชื่อม
8.6 แนวเชื่อมฟิลเลทและการออกแบบรอยต่อแนวเชื่อมฟิลเลท
8.7 เทคนิคการส่ายลวดเชื่อมและการต่อรอยเชื่อม

หน่วยที่ 9 จุดบกพร่องในงานเชื่อมไฟฟ้า
9.1 บทนำ
9.2 ความหมายของจุดบกพร่องในงานเชื่อม
9.3 การเกิดรูพรุนหรือโพรงอากาศฝังในแนวเชื่อม
9.4 สแลกฝังใน
9.5 รอยแหว่งขอบแนว
9.6 การหลอมลึกไม่สมบูรณ์บริเวณที่ฐาน
9.7 การเกิดรอยเกย
9.8 รอยร้าว
9.9 เม็ดโลหะกระเด็น
9.10 การบิดงอ
9.11 รอยเชื่อมไม่เป็นแนว
9.12 การโก่งงอ
9.13 องค์ประกอบที่มีผลต่อข้อบกพร่องของรอยเชื่อม
9.14 เกณฑ์การพิจารณาการยอมรับข้อบกพร่องของรอยเชื่อม

แบบฝึกหัดหน่วย 1-9
แบบทดสอบหลังเรียนหน่วย 1-9