มาตรฐานการตรวจสอบหม้อน้ำแบบไหลผ่านทางเดียว พ.ศ. 2566
฿350.00
มาตรฐานการตรวจสอบหม้อน้ำแบบไหลผ่านทางเดียว พ.ศ. 2566 หม้อน้ำไหลผ่านทางเดียว (Once-through Boiler) ส่วนประกอบของหม้อน้ำและส่วนควบ ระบบควบคุมระดับน้ำ
มาตรฐานการตรวจสอบหม้อน้ำแบบไหลผ่านทางเดียว พ.ศ. 2566
บทที่ 1 ข้อพิจารณาทั่วไปก่อนการตรวจสอบ
บทที่ 2 หม้อน้ำไหลผ่านทางเดียว (Once-through Boiler)
2.1 ลักษณะทางกายภาพ และข้อแนะนำทั่วไป
2.2 ประเภทหม้อน้ำแบบไหลผ่านทางเดียว
บทที่ 3 ส่วนประกอบของหม้อน้ำและส่วนควบ
3.1 ระบบเชื้อเพลิง (Gas, oil) และหัวเผา
3.2 ระบบน้ำป้อน
3.3 ระบบไอน้ำ
3.4 อุปกรณ์ตรวจวัด อุปกรณ์ควบคุมการทำงานและอุปกรณ์ทางด้านความปลอดภัย
3.5 ระบบระบายไอเสีย
3.6 ระบบระบายน้ำ
3.7 ส่วนควบ
3.8 พื้นผิวแลกเปลี่ยนความร้อน
3.9 ฉนวน
บทที่ 4 วิธีการตรวจสอบท่อน้ำด้านสัมผัสน้ำ
บทที่ 5 วิธีการตรวจสอบพื้นผิวด้านสัมผัสก๊าซร้อน
บทที่ 6 หัวเผา
6.1 ความเสียหายของหม้อน้ำที่เกิดจากหัวเผาทำงานผิดปกติ
6.2 ความเสียหายของหม้อน้ำที่เกิดจากการเผาไหม้
6.3 ระยะห่างของเขี้ยวจุดระเบิดกับหัวฉีดต้องเป็นไปตามกำหนดของผู้ผลิต
6.4 ตรวจสอบความสมบูรณ์ของระบบป้อนเชื้อเพลิง
บทที่ 7 ฉนวน (Insulator)
7.1 การตรวจสอบฉนวนปูนทนไฟ
7.2 การตรวจสอบฉนวนใยหินหรือใยเซรามิคที่เปลือกหม้อ
บทที่ 8 ช่องเปิด (Opening)
8.1 การตรวจสอบช่องเปิดด้านสัมผัสน้ำ
8.2 การตรวจสอบช่องเปิดด้านสัมผัสก๊าซร้อน
บทที่ 9 ระบบควบคุมระดับน้ำ
9.1 ควบคุมการเปิด/ปิด ปั๊มน้ำ เมื่อหม้อน้ำทำงานในสภาวะปกติ
9.2 ส่งสัญญาณเตือน เมื่อระดับน้ำมีความผิดปกติ (สูงหรือต่ำ)
9.3 ตัดการทำงานของหัวเผา เมื่อระดับน้ำต่ำถึงขีดจำกัดด้านความปลอดภัย
9.4 ขั้นตอนการตรวจสอบ
บทที่ 10 ระบบน้ำป้อน
10.1 ปั๊มน้ำ
10.2 ท่อและวาล์วในระบบน้ำป้อน
บทที่ 11 ระบบระบายน้ำโบล์วดาวน์
11.1 วิธีการตรวจสอบระบบระบายน้ำโบล์วดาวน์
บทที่ 12 อุปกรณ์ด้านความปลอดภัย
12.1 ลิ้นนิรภัย (Safety valve)
บทที่ 13 ท่อระบายก๊าซไอเสีย Economizer และการปลดปล่อยไอเสีย
13.1 ปล่องไอเสีย
13.2 การปลดปล่อยมลพิษ
13.3 Economizer
บทที่ 14 อุปกรณ์ควบคุมความดัน
14.1 สวิตช์ควบคุมความดัน
14.2 มาตรหรือเกจวัดความดัน (Pressure gauge)
14.3 ระบบท่อและลิ้นของอุปกรณ์ควบคุมความดัน
บทที่ 15 ระบบไฟฟ้าควบคุม
15.1 แผงและอุปกรณ์ไฟฟ้าควบคุม
15.2 สายไฟและข้อต่อ
บทที่ 16 คุณภาพน้ำในระบบน้ำป้อนและน้ำในหม้อน้ำ
16.1 ถังน้ำป้อน
16.2 ระบบป้อนเคมีบำบัด
16.3 คุณสมบัติของน้ำป้อนและน้ำในหม้อน้ำ
16.4 ตรวจสอบรายงานผลค่าต่างๆ ของน้ำ
16.5 ความสัมพันธ์ระหว่างค่าคุณภาพน้ำและปัญที่เกิดขึ้นกับหม้อน้ำ
บทที่ 17 ระบบท่อจ่ายไอน้ำและลิ้น
17.1 ระบบท่อและลิ้น
17.2 โครงสร้างรอบรับท่อ
17.3 ฉนวน
บทที่ 18 รูปแบบความเสียหาย
18.1 ข้อกำหนดทั่วไป
18.2 วิธีการประเมินสภาพของหม้อน้ำ
18.3 วิธีการกำหนด ระดับความเสียหายจากการใช้งาน
18.4 ข้อมูลที่ใช้สำหรับการประเมินระดับของความเสียหาย
18.5 การระบุกลไกความเสียหาย
18.6 ตัวอย่างปัญหาของความเสียหายที่ตรวจพบ
บทที่ 19 การตรวจทดสอบหม้อน้ำ
19.1 แนวทางการปฏิบัติเพื่อตรวจสอบหม้อน้ำแบบไหลผ่านทางเดียว
19.2 การทดสอบโดยไม่ทำลาย
19.3 การกำหนดช่วงเวลาการตรวจสอบ
บทที่ 20 การพิจารณาประวัติการใช้งานและการตรวจสอบ
20.1 การทบทวนและตรวจทานค่าบันทึก (Record review)
บทที่ 21 เอกสารรายงานการตรวจสอบหม้อน้ำ
บทที่ 22 หน้าที่และคุณสมบัติของผู้ตรวจสอบหรือวิศวกรตรวจทดสอบหม้อน้ำและหน่วยรับรองวิศวกรรมด้านหม้อน้ำ
22.1 ผู้ตรวจสอบหรือวิศวกรตรวจทดสอบหม้อน้ำ
22.2 หน่วยรับรองวิศวกรรมด้านหม้อน้ำ
ภาคผนวก ก ขั้นตอนการดำเนินการในการตรวจสอบหม้อน้ำแบบไหลผ่านทางเดียว