วงจรไฟฟ้ากระแสงตรง
฿120.00
วงจรไฟฟ้ากระแสงตรง หน่วยวัดทางไฟฟ้าและการขยายหน่วยวัด กำลังไฟฟ้าและงานไฟฟ้า กฎของโอห์ม วงจรอนุกรม วงจรขนาน วงจรผสม การแปลงความต้านทานแบบสตาร์และเดลตา
ผู้เขียน
มยุรี แก้วพันธ์
สมศักดิ์ แก้วพันธ์
สำนักพิมพ์
ช่างเหมา
ปีที่พิมพ์
พิมพ์ครั้งที่ 1
เมษายน 2563
จำนวน
316 หน้า
ISBN
9786162817557
รหัสสินค้า
0675
หมวดหนังสือ
ไฟฟ้า
วงจรไฟฟ้ากระแสงตรง DC Circuits รหัสวิชา 20104-2002
หน่วยที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับไฟฟ้า
1.1 ความหมายของกระแสไฟฟ้า
1.2 ปริมาณในวงจรไฟฟ้า
1.3 กฎของความต้านทาน
1.4 ตัวเหนี่ยวนำและตัวเก็บประจุ
แบบฝึกหัดหน่วยที่ 1
หน่วยที่ 2 หน่วยวัดทางไฟฟ้าและการขยายหน่วยวัด
2.1 หน่วยมาตรฐาน หน่วยย่อย และหน่วยขยายของหน่วยวัดทางไฟฟ้า
2.2 การคูณและหารปริมาณทางไฟฟ้าที่มีตัวเติมขยายหน่วย
2.3 การบวกและลบปริมาณทางไฟฟ้าที่มีตัวเติมขยายหน่วย
2.4 การคำนวณค่าปริมาณทางไฟฟ้าที่มีตัวเติมขยายหน่วย
แบบฝึกหัดหน่วยที่ 2
หน่วยที่ 3 กำลังไฟฟ้าและงานไฟฟ้า
3.1 กำลังไฟฟ้า
3.2 งานไฟฟ้า
แบบฝึกหัดหน่วยที่ 3
หน่วยที่ 4 กฎของโอห์ม
4.1 ความสัมพันธ์ของกระแสไฟฟ้า แรงดันไฟฟ้า
และความด้านทานไฟฟ้าตามกฎของโอห์ม
4.2 การประยุกต์ใช้กฎของโอห์มในวงจรไฟฟ้า
แบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
หน่วยที่ 5 วงจรอนุกรม
5.1 ลักษณะของวงจรอนุกรม
5.2 คุณสมบัติของวงจรอนุกรม
5.3 แรงคันไฟฟ้าในวงจรอนุกรม
5.4 กำลังไฟฟ้ารวมในวงจรอนุกรม (P.)
5.5 การคำนวณหาค่าความสัมพันธ์ของปริมาณทางไฟฟ้าในวงจรอนุกรม
แบบฝึกหัดหน่วยที่ 5
หน่วยที่ 6 วงจรขนาน
6.1 คุณสมบัติของวงจรขนาน
6.2 การคำนวณหาค่าความสัมพันธ์ของปริมาณทางไฟฟ้าในวงจรขนาน
แบบฝึกหัดหน่วยที่ 6
หน่วยที่ 7 วงจรผสม
7.1 วงจรผสมแบบอนุกรม-ขนาน
7.2 วงจรผสมแบบขนาน-อนุกรม
แบบฝึกหัดหน่วยที่ 7
หน่วยที่ 8 การแปลงความต้านทานแบบสตาร์และเดลตา
8.1 ลักษณะวงจรความด้านทานไฟฟ้าแบบสตาร์และเดลตา
8.2 สมการของการเปลี่ยนการต่อวงจรความด้านทานไฟฟ้าแบบสตาร์ไปเป็นเคล
8.3 สมการของการเปลี่ยนการต่อวงจรความด้านทานไฟฟ้าแบบเคลตาไปเป็นสตาร์
8.4 การแก้ปัญหาวงจรไฟฟ้า ภายหลังจากเปลี่ยนการต่อความด้านทานไฟฟ้า
แบบเคลตา (A) ไปเป็นแบบสตาร์ (Y)
8.5 การแก้ปัญหาวงจรไฟฟ้า ภายหลังจากเปลี่ยนการต่อความด้านทานไฟฟ้า
แบบสตาร์ (Y) ไปเป็นแบบเคลตา (∆)
แบบฝึกหัดหน่วยที่ 8
หน่วยที่ 9 เซลล์ไฟฟ้า
9.1 แรงคันไฟฟ้ารวมของการต่อเซลล์ไฟฟ้า
9.2 ความต้านทานภายในและกระแสรวมของการต่อเซลล์ไฟฟ้า
แบบฝึกหัดหน่วยที่ 9
หน่วยที่ 10 วงจรแบ่งแรงดันไฟฟ้า
10.1 วงจรแบ่งแรงดันไฟฟ้าในกรณีที่ไม่มีโหล
10.2 วงจรแบ่งแรงดันไฟฟ้าในกรณีที่มีโหลด
แบบฝึกหัดหน่วยที่ 10
หน่วยที่ 11 วงจรแบ่งกระแสไฟฟ้า
11.1 วงจรแบ่งกระแสไฟฟ้าในกรณีมีตัวต้านทาน 2 ตัว
11.2 วงจรแบ่งกระแสไฟฟ้าในกรณีมีตัวต้านทานมากกว่า 2 ตัว
แบบฝึกหัดหน่วยที่ 11
หน่วยที่ 12 เมทริกซ์และดีเทอร์มิแนนต์
12.1 การแก้สมการในกรณีตัวแปร ไม่ทราบค่า 2 ตัวแปร
12.2 การแก้สมการในกรณีตัวแปรไม่ทราบค่า 3 ตัวแปร
แบบฝึกหัดหน่วยที่ 12
หน่วยที่ 13 กฎของเคอร์ชอฟฟ์
13. 1 กฎกระแสไฟฟ้าของเคอร์ชอฟฟ์
13.2 กฎแรงดันไฟฟ้าของเคอร์ชอฟฟ์
แบบฝึกหัดหน่วยที่ 13
หน่วยที่ 14 วิธีการเมชเคอร์เรนต์
14.1 วิธีการเมชเคอร์เรนต์และแนวทางการนำไปใช้งาน
14.2 การกำหนดกระแสลูปและกระแสเมช ตามวิธีการของเมชเคอร์เรนต์
14.3 ขั้นตอนการใช้วิธีการเมชเดอร์เรนต์ ในการแก้ปัญหาวงจรไฟฟ้า
14.4 การนำค่าตัวแปรและสัมประสิทธิ์มาเขียนลงในเมทริกซ์อย่างเป็นระบบ
แบบฝึกหัดหน่วยที่ 14
หน่วยที่ 15 วิธีการโนดโวลเตจ
15.1 วิธีการโนดโวลเตจและแนวทางการนำไปใช้งาน
15.2 ความหมายของกิ่ง (Branch) และการแบ่งประเภทของโนด
15.3 ขั้นตอนการใช้วิธีการโนคโวลเตจ ในการแก้ปัญหาวงจรไฟฟ้า
การนำค่าตัวแปรและสัมประสิทธิ์ มาเขียนลงในเมทริกซ์อย่างเป็นระบบ
แบบฝึกหัดหน่วยที่ 15
หม่วยที่ 16 วงจรบริดจ์
16.1 วงจรบริดจ์ในสภาวะสมดุล
16.2 วงจรบริคจ์ในสภาวะไม่สมดุล
แบบฝึกหัดหน่วยที่ 16
หน่วยที่ 17 ทฤษฎีของเทเวนิน
17.1 ทฤษฎีของเทเวนินและแนวทางการนำไปใช้งาน
17.2 ขั้นตอนในการแก้ปัญหาโจทย์โดยใช้ทฤษฎีของเทเวนิน
17.3 การแปลงแหล่งจ่ายไฟฟ้า
17.4 ตัวอย่างการวิเคราะห์วงจรไฟฟ้าโดยใช้ทฤษฎีของเทเวนิน
แบบฝึกหัดหน่วยที่ 17
หน่วยที่ 18 ทฤษฎีของนอร์ตัน
18.1 ทฤษฎีของนอร์ต้นและแนวทางการนำไปใช้งาน
18.2 ขั้นตอนในการแก้ปัญหาโจทย์โดยใช้ทฤษฎีของนอร์ต้น
18.3 ตัวอย่างการวิเคราะห์วงจรไฟฟ้าโดยใช้ทฤษฎีของนอร์ต้น
แบบฝึกหัดหน่วยที่ 18
หน่วยที่ 19 ทฤษฎีบทการทับซ้อน
19.1 ทฤษฎีบทการทับซ้อนและแนวทางการนำไปใช้งาน
19.2 การใช้ทฤษฎีบทการทับซ้อนในการวิเคราะห์วงจรไฟฟ้า
19.3 ตัวอย่างการใช้ทฤษฎีบทการทับซ้อนในการแก้ปัญหาโจทย์
แบบฝึกหัดหน่วยที่ 19
หน่วยที่ 20 ทฤษฎีการถ่ายโอนกำลังไฟฟ้าสูงสุด
20. 1 ทฤษฎีการถ่ายโอนกำลังไฟฟ้าสูงสุดและแนวทางการนำไปใช้งาน
20.2 ผลของสภาวะการเกิดกำลังไฟฟ้าสูงสุดที่โหลด
20.3 ตัวอย่างการใช้ทฤษฎีการถ่ายโอนกำลังไฟฟ้าสูงสุดในการแก้ปัญหาโจทย์
แบบฝึกหัดหน่วยที่ 20
ใบงานที่ 1 กฎของโอห์มและกำลังไฟฟ้า
ใบงานที่ 2 คุณสมบัติของวงจรอนุกรม
ใบงานที่ 3 คุณสมบัติของวงจรขนาน
ใบงานที่ 4 คุณสมบัติของวงจรผสม
ใบงานที่ 5 การแปลงความต้านทานสตาร์และเคลตา
ใบงานที่ 6 การหาคุณลักษณะของแรงดันในการต่อเซลล์ไฟฟ้า
ใบงานที่ 7 วงจรแบ่งแรงดันไฟฟ้า
ใบงานที่ 8 วงจรแบ่งกระแสไฟฟ้า
ใบงานที่ 9 การใช้งานกฎของเคอร์ชอฟฟ์
ใบงานที่ 10 การหาคุณลักษณะของวงจรไฟฟ้าด้วยวิธีการเมชเคอร์เรนต์
ใบงานที่ 11 การหาคุณลักษณะของวงจรไฟฟ้าด้วยวิธีการโนดโวลเตง
ใบงานที่ 12 คุณสมบัติของวงจรบริดจ์แบบสมดุล
ใบงานที่ 13 การหาคุณลักษณะในวงจรไฟฟ้าโดยใช้ทฤษฎีของเทวนิน
ใบงานที่ 14 การหาคุณลักษณะในวงจรไฟฟ้าโดยใช้ทฤษฎีของนอร์ตัน
ใบงานที่ 15 การหาคุณลักษณะของวงจรไฟฟ้าด้วยทฤษฎีบทการทับซ้อน
ใบงานที่ 16 การหาคุณลักษณะในวงจรไฟฟ้าโดยใช้ทฤษฎีการถ่ายโอนกำลังไฟฟ้าสูงสุด