เครื่องกลไฟฟ้า 2

฿120.00

เครื่องกลไฟฟ้า 2 เครื่องกำเนิดไฟฟ้ากระแสสลับ มอเตอร์ซิงโครนัส มอเตอร์เหนี่ยวนำสามเฟส มอเตอร์เหนี่ยวนำเฟสเดียวแบบต่างๆ มอเตอร์เหนี่ยวนำแบบเชดเดดโพล

ISBN: 9786165790482 หมวดหมู่: , ป้ายกำกับ:
แชร์เล่มนี้

ผู้เขียน
ธวัชชัย อัตถวิบูลย์กุล
สำนักพิมพ์
ศสอ.

ปีที่พิมพ์
พิมพ์ครั้งที่ 1
พ.ศ.2564
จำนวน
321 หน้า
ISBN
9786165790482

รหัสสินค้า
0677
หมวดหนังสือ
ไฟฟ้า

เครื่องกลไฟฟ้า 2 Electrical Machine 2 30104-2102

บทที่ 1 เครื่องกำเนิดไฟฟ้ากระแสสลับ
บทนำ
หลักการโครงสร้างและส่วนประกอบ
ความเร็วรอบและความถี่
การพันขดลวดอาเมเจอร์ (Armature winding)
พิทช์แฟกเตอร์, Kp (Pitch factor or Coil span factor)
ดิสทริบิวชั่น แฟคเตอร์ (Distribution factor or winding factor)
สมการของแรงเคลื่อนไฟฟ้าเหนี่ยวนำ (Equation o induced e.m.f)
เครื่องกำเนิดทำงานขณะมีโหลด (Alternator on load)
ชิงโครนัสรีแอคแตนซ์ (Synchronous reactance) Xs
เวคเตอร์ไดอะแกรมของเครื่องกำเนิดฟฟ้าเมื่อมีโหลดที่ค่า P.F. ต่าง ๆ กัน
โวลท์เตจ เรกกูเลชั่น (Voltage regulation)
การหาค่าของโวลท์เตจเรกกูเลชั่น
การขนานเครื่องกำเนิดไฟฟ้ากระแสสลับ (Synchronizing of alternators)
การแบ่งโหลด (Share load)
กระแสซิงโครไนซ์ (Synchronizing current)
กำลังไฟฟ้าชิงโครไนช็ (Synchronizing power)
แรงบิดซิงโครไนซ์ (Synchronizing torque)
แบบฝึกหัดบทที่ 1

บทที่ 2 มอเตอร์ซิงโครนัส (Synchronous motor)
บทนำ
โครงสร้างและส่วนประกอบ
หลักการทำงาน (Principle of operation)
วิธีการเริ่มเดิน (Method of starting)
การป้อนโหลดให้กับมอเตอร์ซิงโครนัส (Synchronous motor on load)
การปรับแต่งค่าเพาเวอร์แฟคเตอร์ของมอเตอร์ชิงโครนัส
กำลังกลที่เกิดขึ้นในมอเตอร์ชิงโครนัส (Mechanical power developed)
กำลังกลสูงสุด (Maximum power developed)
วงจรสมมูลและเฟสเชอร์ไดอะแกรม (Equivalent circuit phasor and diagram)
กำลังในส่วนต่าง ๆ ของมอเตอร์ซิงโครนัส (Power stages or power flow diagram)
คุณลักษณะในการทำงาน (Operating characteristic)
วีเคอฟ (V-curve)
ผลของการเพิ่มโหลดเมื่อกระแสฟิลด์คงที่
ผลเสียของเพาเวอร์แฟคเตอร์ต่ำ (Disadvantage of low p.f.)
ซิงโครนัสคอนเตนเซอร์ (Synchronous condenser)
ลำดับขั้นการเริ่มเดินมอเตอร์ชิงโครนัส
การเปรียบเทียบคุณลักษณะของมอเตอร์ชิงโครนัสกับมอเตอร์เหนี่ยวนำ
การใช้งานของมอเตอร์ซิงโครนัส (Synchronous motor applications)
แบบฝึกหัดบทที่ 2

บทที่ 3 มอเตอร์เหนี่ยวนำสามเฟส
บทนำ
โครงสร้างและส่วนประกอบของมอเตอร์เหนียวนำสามเฟส
การเกิดสนามแม่เหล็ก (production of rotating field)
หลักการทำงานของมอเตอร์เหนี่ยวนำสามเฟส
ความเร็วโรเตอร์และสลิป (Slip)
ความถี่โรเตอร์ (Rotor frequency)
แรงเคลื่อนไฟฟ้าและค่ารีแอคแตนช์ที่โรเตอร์ (Rotor em.f. and reactance)
กำลังและกระแสที่โรเตอร์ (Power and rotor current)
วงจรสมมูลของโรเตอร์ (Equivalent circuit of rotor)
กำลังและแรงบิดของมอเตอร์เหนี่ยวนำ (Power and torque in induction motor)
แรงบิดเริ่มหมุน (Starting torque) Ts
แรงบิดเมื่อมอเตอร์ทำงาน (Running torque)
ความสัมพันธ์ระหว่างแรงบิดเมื่อโหลดเต็มพิกัดและแรงบิดสูงสุด
ความสัมพันธ์ระหว่างแรงบิดเริ่มหมุนและแรงบิดสูงสุด
ความสัมพันธ์ระหว่างแรงบิดกับสลิป (Relation between torque and slip)
ผลของการเปลี่ยนแปลงแรงดันที่จ่ายให้มอเตอร์ (Effect of change in supply voltage)
คุณลักษณะแรงบิด-สลิปของมอเตอร์เหนี่ยวนำสามเฟสแบบวาวด์โรเตอร์
วงจรสมมูล (Equivalent circuit)
การสมดุลของสมการกำลัง (Power balance equation)
กำลังกลเอาท์พุทสูงสุด (Maximum power output)
ค่าสลิปที่กำลังกลเอาท์พุทสูงสุด
เซอร์เคิลไดอะแกรม (Circle diagram, C.D.)
วิธีการเริ่มเดินและควบคุมความเร็ว
วิธีสตาร์ทโดยตรงหรือการสตาร์ทโดยใช้แรงดันเต็มพิกัด
วิธีสตาร์ทโดยลดแรงดันไฟฟ้า (Reduced volage starting)
วิธีสตาร์ทมอเตอร์แบบวาวด์-โรเตอร์ หรือ มอเตอร์แบบสลิป-ริง (Starting of wound-rotor induction motor)
การควบคุมความเร็วทางด้านสเตเตอร์
การควบคุมความเร็วด้านโรเตอร์
มอเตอร์แบบกรงกระรอกสองชั้น (Double squirrel cage motor)
การเปรียบเทียบคุณลักษณะความเร็วรอบแรงบิดของมอเตอร์เหนี่ยวนำสามเฟสแบบกรงกระรอกที่มี class ของโรเตอร์ต่าง ๆ กัน
แบบฝึกหัดบทที่ 3

บทที่ 4 มอเตอร์เหนี่ยวนำเฟสเดียวแบบต่างๆ (Single-phase induction motor)
บทนำ
มอเตอร์เหนี่ยวนำแบบสปลิตเฟส หรือ แบบแยกเฟส
มอเตอร์แบบคาปาซิเตอร์ (Capacitor type motor)
มอเตอร์เหนี่ยวนำแบบเชดเดดโพล (Shaded pole motor)
มอเตอร์เฟสเดียวแบบคอมมิวเตเตอร์ (Single-phase commutator motors)
แบบฝึกหัดบทที่ 4