เครื่องตัดวงกระแสเหลือ
฿250.00
เครื่องตัดวงกระแสเหลือ การป้องกันการช็อกทางไฟฟ้า การต่อลงดินป้องกัน ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการประสานศักย์ให้เท่ากัน พื้นฐานความรู้ของกระแสรั่วลงดิน
ผู้เขียน
วิวัฒน์ กุลวงศ์วิทย์
สำนักพิมพ์
MECT
ปีที่พิมพ์
พิมพ์ครั้งที่ 1
เมษายน 2557
จำนวน
176 หน้า
ISBN
9786169172024
รหัสสินค้า
0679
หมวดหนังสือ
ไฟฟ้า
เครื่องตัดวงกระแสเหลือ Residual Current Devices
บทที่ 1 การป้องกันการช็อกทางไฟฟ้า
1.1 บทนำ
1.2 การป้องกันการช็อกทางไฟฟ้า
1.3 การแบ่งประเภทหรือชั้นของบริภัณฑ์
1.4 วิธีการต่อลงดินของบริภัณฑ์แต่ละชั้น
1.5 ข้อกำหนดสำหรับการป้องกันการผิดพร่อง
1.6 มาตรการป้องกันร่วมกันระหว่างการป้องกันสัมผัสโดยตรงกับการสัมผัสโดยอ้อม
บทที่ 2 การต่อลงดินป้องกัน (Protective earthing)
2.1 บทนำ
2.2 การแบ่งชนิดของการต่อลงดินและเหตุผลการต่อลงดิน
2.3 ชนิดของระบบการต่อลงดินของระบบไฟฟ้าตามมาตรฐาน IEC
2.4 ระบบ TN
2.5 ระบบ TT
2.6 ระบบ IT
2.7 รูปการต่อลงดินสำหรับประเทศไทย
2.8 มาตรการการประยุกต์ใช้การต่อลงดินเพื่อป้องกันการช็อกทางไฟฟ้า
2.9 ความเข้าใจที่ผิดเกี่ยวกับการต่อลงดิน
บทที่ 3 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการประสานศักย์ให้เท่ากัน
3.1 บทนำ
3.2 หลักการเบื้องต้น
3.3 ส่วนนำกระแสอื่นที่ไม่เกี่ยวข้อง (Extraneous-conductive-part)
3.4 ตัวอย่างการคำนวณ
3.5 การต่อประสานศักย์ให้เท่ากันในอาคาร
บทที่ 4 พื้นฐานความรู้ของกระแสรั่วลงดิน
4.1 บทนำ
4.2 ชนิดของกระแสรั่วลงดิน
บทที่ 5 ผลของกระแสที่มีต่อร่างกายมนุษย์และปสุสัตว์ ตามมาตรฐาน IEC 60479-1
5.1 บทนำ
5.2 อิมพีแคนซ์ของร่างกายมนุษย์
5.3 หัวใจเต้นผิดจังหวะ (Atrial Fibrillation)
4 ภาวะหัวใจห้องล่างเต้นพลิ้ว (Ventricular Fibrillation)
5.5 ผลของกระแสไฟฟ้าที่มีต่อสรีระร่างกาย
บทที่ 6 การประยุกต์ใช้กราฟเวลาและกระแสของ IEC 60479-1
6.1 บทนำ
6.2 การหากราฟเวลาและแรงดันจากการสัมผัสโดย
6.3 เงื่อนไขการป้องกันในสถานการณ์เฉพาะ
บทที่ 7 เครื่องตัดวงจรกระแสเหลือ (Resident current Device (RCD))
7.1 บทนำ
7.2 นิยาม
7.3 การสัมผัสโดยตรงและโดยอ้อม
7.4 หลักการของเครื่องตัดวงจรกระแสไฟฟ้ารั่ว
7.5 เครื่องตัดวงจรกระแสไฟฟ้าอัตโนมัติ
7.6 มาตรฐานเครื่องตัดวงจรกระแสเหลือ
7.7 มาตรฐาน IEC 60755 : 1963
7.8 มาตรฐานเครื่องตัดวงจรกระแสไฟฟ้ารั่ว IEC 61008-1
7.9 มาตรฐานเครื่องตัดวงจรกระแสไฟฟ้ารั่ว IEC 61009-1
7.10 มาตรการการป้องกันไฟไหม้
7.11 การทำงานของ RCD กับกระแสผิดพร่องดีซีที่เป็นไปได้
บทที่ 8 ความเข้าใจผิดเกี่ยวกับความไวของเครื่องตัดวงจรทำงานด้วยกระแสเหลือ
8.1 บทนำ
ข้อสรุป
บทที่ 9 การติดตั้งใช้งานเครื่องตัดวงจรกระแสเหลือ (RCD)
9.1 บทนำ
9.2 หลักการเบื้องต้นของการติดตั้ง
9.3 การใช้อุปกรณ์กระแสเหลือจะสามารถทำงานได้ 2 แบบ
9.4 ตัวอย่างการติดตั้งอุปกรณ์กระแสเหลือ
9.5 การใช้การปรับตั้งแบบเป็นขั้น (Step) และบายพาส
9.6 การประยุกต์ใช้งานและการติดตั้ง
9.7 ตัวอย่างที่ผิดในการใช้อุปกรณ์กระแสเหลือ
9.8 ผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมเครื่องตัดวงจรกระแสเหลือ
บทที่ 10 ข้อแนะนำในการเลือกใช้และการติดตั้งเพื่อหลีกเลี่ยงการทริปที่ไม่พึงประสงค์ของเครื่องตัดวงจรกระแสเหลือ (RCD)
10.1 บทนำ
10.2 หลักการเบื้องต้นของการติดตั้ง
10.3 การทริปเนื่องจากการรบกวน
10.4 การทริปที่ไม่พึงประสงค์
10.5 การรบกวนที่ไม่เกิดการทริป
บทที่ 11 เครื่องตัดวงจรเมื่อมีความผิดพร่องลงดิน (Ground Fault Circuit Interruptor)
11.1 บทนำ
11.2 การปฏิบัติในประเทศแถบอเมริกาเหนือ
11.3 การทำงานของอุปกรณ์ตัดวงจรกระแสผิดพร่องลงดิน
11.4 ตัวอย่างการใช้งานตามมาตรฐาน NEMA
บทที่ 12 เครื่องตัดวงจรไฟฟ้ทำงานด้วยกระแสหลือกับมาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้า
12.1 บทนำ
12.2 ข้อกำหนดมาตรฐานการติดตั้งไฟ ฟ้าที่เกี่ยวกับ RCD