เครื่องกำเนิดไฟฟ้า

฿500.00

เครื่องกำเนิดไฟฟ้า เครื่องกำเนิดไฟฟ้าเบื้องต้น พิกัดและสมรรถนะของเครื่องยนต์แบบลูกสูบชักสันดาปภายใน คุณภาพไฟฟ้า เครื่องกำเนิดไฟฟ้ากระแสสลับเบื้องต้น

แชร์เล่มนี้

ผู้เขียน
วิวัฒน์ กุลวงศ์วิทย์
สำนักพิมพ์
MECT

ปีที่พิมพ์
พิมพ์ครั้งที่ 1
เมษายน 2561
จำนวน
404 หน้า
ISBN
9756169316305

รหัสสินค้า
0680
หมวดหนังสือ
ไฟฟ้า

เครื่องกำเนิดไฟฟ้า AC Generator Set

บทที่ 1 เครื่องกำเนิดไฟฟ้าเบื้องต้น
1. บทนำ
2. คำนิยาม

บทที่ 2 พิกัดและสมรรถนะของเครื่องยนต์แบบลูกสูบชักสันดาปภายใน
1. ทั่วไป
2. พิกัดกำลัง
3. ชนิดของพิกัดกำลัง
4. แบบอย่างของระบบ (พิกัดสำรอง)
5. ชนิดแบบระบบและพิกัด
6. สรุปพิกัดเครื่องกำเนิดไฟฟ้า

บทที่ 3 คุณภาพไฟฟ้า
1. บทนำ
2. การกำหนดคุณภาพไฟฟ้าของผลิตภัณฑ์ที่ต่อกับแหล่งจ่ายไฟฟ้า
3. การพิจารณาการออกแบบระบบที่ยอมรับได้ในกรณีที่ใช้เคอร์ฟ ITIC 120V 60 Hz
4. การเฝ้าตรวจจับและแสดงผลของแหล่งจ่าย (Source Monitoring)
5. แรงดันเกิน (Overvoltage)

บทที่ 4 เครื่องกำเนิดไฟฟ้ากระแสสลับเบื้องต้น
1. ทั่วไป
2. องค์ประกอบของเครื่องกำเนิดไฟฟ้า
3. เครื่องกำเนิดไฟฟ้ากับเคอร์ฟความสามารถ (Capability curve)

บทที่ 5 คุณลักษณะด้านสมรรถนะของเครื่องกำเนิดไฟฟ้า
1. ทั่วไป
2. พิกัดและเปอร์ยูนิด
3. ประสิทธิภาพ (Efficiency)
4. ความสูญเสียของเครื่องกำเนิดไฟฟ้า
5. กระแสผิดพร่อง/ล้ดวงจร
6. รีแอ็กแตนซ์
7. การคำนวณหาค่าเปอร์ยูนิตที่มีฐานต่างกัน
8. สมมาตรและอสมมาตร
9. รีแอ็กแตนซ์ซิงโครนัส (X.)
10. รีแอ็กแตนซ์ลำคับลบ (X.)
11. รีแอ็กแตนซ์ลำดับศูนย์ (X.)

บทที่ 6 คุณลักษณะของเครื่องกำเนิดไฟฟ้าที่มีต่อการสตาร์ทมอเตอร์
1. บทนำ
2. คุณสมบัติของมอเตอร์เมื่อมีการสตารัท
3. แรงดันตกในช่วงสั้น (Voltage Dip)
4. การตอบสนองต่อทรานเซียนท์

บทที่ 7 การหาขนาดเครื่องกำเนิดไฟฟ้าที่มีการสตาร์ทมอเตอร์ขนาดใหญ่
1. ตัวประกอบกำลังการสตาร์ทมอเตอร์
2. โหลดการสตาร์ทมอเตอร์
3. การหาขนาดเครื่องกำเนิดไฟฟ้สำหรับการสตาร์ทมอเตอร์ขนาคใหญ่

บทที่ 8 ข้อกำหนดการป้องกันเครื่องกำเนิดไฟฟ้ (Alternator protection Requirements)
1. ทั่วไป
2. ความเสียหายเครื่องกำเนิดไฟฟ้า (Alternator Damage)
3. การป้องกันด้วยเซอร์กิตเบรกเกอร์หรือใช้รีเลย์
4. การหาขนาดของเครื่องตัดวงจรไฟฟ้าประธานของเครื่องกำเนิดไฟฟ้า

บทที่ 9 ระบบสวิตช์ถ่ายโอน (Automatic Transfer Switches)
1. บทนำ
2. แบบอย่างของบริภัณฑ์ (สวิตช์ถ่ายโอน)
3. แบบอย่างการถ่ายโอน
4. วิธีการสวิตชิ่งในบริภัณฑ์สวิตซ์ถ่ายโอน (Transfer Equipment Switching Means)
5. การถ่ายโอนแบบคาบเกี่ยวกันและถ่ายโอนพร้อมกัน
6. ปรากฏการณ์ของสายนิวทรัลหลุดจะเกิดแรงดันเกินที่โหล

บทที่ 10 การต่อลงดินของเครื่องกำเนิดไฟฟ้า
1. การแนะนำ
2. ฟังก์ชันการต่อลงดินบริภัณฑ์และระบบ
3. การต่อประสานบริภัณฑ์เสริม
4. กระแสไม่พึงประสงค์ไหลผ่านสายดิน
5. ข้อกำหนดการต่อลงดินระบบ
6. สายดินบริภัณฑ์
7. การต่อลงดินระบบและบริภัณฑ์
8. การต่อลงดินเครื่องกำเนิดไฟฟ้าในระบบแรงดันปานกลาง
9. ระบบจ่ายแยกต่างหาก (Separately Derived Systems)
10. ระบบที่ไม่ใช่ระบบจ่ายแยกต่างหาก (Non-Separately System)
11. การสวิตช์สายนิวทรัลโดยสวิตซ์ถ่ายโอน
12. สวิตช์ถ่ายโอนหลายตัว
13. ชุดเครื่องกำเนิดไฟฟ้าหลายเครื่อง
14. การถ่ายโอนตัวนำนิวทรัล
15. การเกิดเสียงเตือนของความผิดพร่องลงดิน
16. ระบบที่ไม่ต้องการตัวนำวงจรต่อลงดิน

บทที่ 11 การป้องกันความผิดพร่องลงดินของแหล่งจ่ายไฟฟ้าแรงต่ำหลายแหล่งจ่าย
1. บทนำ
2. ข้อกำหนดตามมาตรฐาน NEC
3. ชนิดและคุณสมบัติของรีเลย์ป้องกันความผิดพร่องลงดิน
4. ตัวอย่างการป้องกันความผิดพร่องลงดินแหล่งจ่ายหลายแหล่งจ่าย
5. ระบบแหล่งจ่ายหลายแหล่งจ่ายที่เป็นแบบ 3 เฟส 4 สาย
6. เครื่องกำเนิดไฟฟ้าที่ต่อกับแหล่งจ่ายจากการไฟฟ้า
7. การส่งเสียงเตือนเมื่อเกิดความผิดพร่องลงดินและการทริปเมื่อเกิดความผิดพร่องลงดิน

บทที่ 12 การป้องกันความผิดพร่องลงดินในเครื่องกำเนิดไฟฟ้าและการต่อลงดิน
1. ทั่วไป
2. วิธีการตรวจจับกระแสผิดพร่องลงดิน
3. วัตถุประสงค์ในการต่อลงดินเครื่องกำเนิดไฟฟ้า
4. ระบบการต่อลงดินแบบ 3 สาย
5. กฎการติดตั้งการตรวจจับกระแสผิดพร่องลงดิน
6. ระบบจ่ายแยกต่างหาก
7. ระบบที่ไม่จ่ายแยกต่างหาก (Non Separately Derived System)
8. การประยุกต์ใช้สวิตช์ถ่ายโอนหลายตัว
9. ข้อจำกัดของสวิตซ์ถ่ายโอนแบบ 3 ขั้ว
10. กฎการติดตั้งการตรวจจับกระแสผิดพร่องลงดิน
11. การแก้ปัญหา

บทที่ 13 การออกแบบการต่อลงดินระบบของระบบไฟฟ้าที่มีหลายแหล่งจ่าย
1. บทนำ
2. การต่อลงดินแบบแหล่งจ่ายเดียว
3. การต่อลงดินระบบของแหล่งจ่ายหลายแหล่งจ่าย
4. ปรัชญาในการต่อลงดินของหลายแหล่งจ่าย

บทที่ 14 ระบบจ่ายไฟหลายแหล่งจ่ายที่มีเครื่องกำเนิดไฟฟ้า
1. ทั่วไป
2. ระบบจ่ายไฟหลายแหล่งจ่ายที่หม้อแปลง 1 เครื่องและเครื่องกำเนิดไฟฟ้า 1 เครื่อง
3. การต่อลงดินระบบของแหล่งจ่ายหลายแหล่งจ่าย
4. การจ่ายไฟหลายแหล่งจ่ายและมีหม้อแปลง 2 เครื่อง เครื่องกำเนิดไฟฟ้าที่อยู่ในห้องเดียวกับหม้อแปลง
5. การจ่ายไฟของระบบที่มีหลายแหล่งจ่ายมีสวิตช์คัปปลิงและสวิตซ์ถ่ายโอนอัดโนมัติแบบ 3 ขั้ว ในกรณีที่เครื่องกำเนิดไฟฟ้าอยู่ห่างจากหม้อแปลง
6. การจ่ายไฟของระบบแหล่งจ่ายที่มีหม้อแปลง 2 เครื่อง เครื่องกำเนิดไฟฟ้า 1 เครื่อง ที่อยู่ห่างจากห้องเครื่อง

บทที่ 15 การสวิตชั่สายนิวทรัดของระบบไฟฟ้าด้านเข้าของระบบกำลังไฟฟ้าต่อเนื่อง
บทนำ
1. กรณียูพีเอสที่ต้องการใช้ไฟสำรองจากเครื่องกำเนิดไฟฟ้า
2. ข้อจำกัดของการใช้สวิตซ์ถ่ายโอนแบบ 3 ขั้ว
3. สวิตซ์ถ่ายโอนแบบ 4 ขั้ว
4. ผลกระทบของสายนิวทรัลด้านเข้าขาดตอนที่มีต่อยูพีเอส
ร. อันตรายจากนิวทรัลด้านเข้าขาดตอนที่มีต่อยูพีเอส
6. ข้อกำหนดพื้นฐานสำหรับสายนิวทรัลของยูพีเอส
7. การแก้ปัญหาสำหรับยูพีเอสในเมื่อสายนิวทรัลต้นทางมีการสวิตช์
8. สรุป

บทที่ 16 การขนานเครื่อง (Synchronization)
1. ทั่วไป
2. การขนานเครื่องคืออะไร
3. เหตุผลการขนานเครื่อง
4. จะขนานเครื่องเมื่อไร
5. เมื่อไรที่ไม่ขนานกัน
6. ชนิดของบริภัณฑ์การขนานบริภัณฑ์สำหรับการขนานแบ่งเป็น 3 ชนิด
7. ข้อพิจารณาการประยุกต์ใช้การขนานแบบเอ็กไซเตอร์
8. ข้อดีและข้อเสียการขนานแบบเอ็กไซเตอร์
9. การขนานแบบลำดับ
10. ข้อดีและข้อเสียการขนานแบบลำดับ
11. การต่อขนานแบบสุ่ม
12. การเลือกเครื่องกำเนิดไฟฟ้า
13. เครื่องควบคุมความเร็วรอบและเครื่องปรับแรงดันอัดโนมัติ
14. ข้อพิจารณาความผิดพร่องและอุปกรณ์และอุปกรณ์ป้องกันระบบ
15. กำลังย้อนกลับและรีเลย์ป้องกันกำลังย้อนกลับ
16. การขนานนอกเฟส
17. รีเลย์ที่ยอมให้มีการขนาน
18. หลอดไฟการซิงโครไนซ์
19. ความผิดพร่องลงดิน
20. ความสูญเสียของสนาม

บทที่ 17 ระบบควบคุมระบบการขนาน (Paralleling System Controls)
1. ทั่วไป
2. ระบบควบคุมเครื่องกำเนิดไฟฟ้าเบื้องต้น
3. อุปกรณ์การเช็คซิงค์และซิงโครไนเซอร์
4. ชนิดของซิงโครไนเซอร์
ร. การเลือกเครื่องกำเนิดไฟฟ้าแรกปีดวงจรเข้าบัส
6. การจัดให้มีการปฎิบัติการด้วยมือ (Manual Operation Provisions)
7. การป้องกันเครื่องกำเนิดไฟฟ้าในการประยุกด์ใช้การขนาน

บทที่ 18 ฮาร์มอนิกเบื้องต้น
1. บทนำ
2. ผลกระทบสืบเนื่องของฮาร์มอนิก
3. ค่าของคุณลักษณะของฮาร์มอนิก

บทที่ 19 การหาขนาดของเครื่องกำนิดไฟฟ้าเพื่อให้เข้ากันได้กับยูพีเอส
1. บทนำ
2. การวิเคราะห์หาแรงดันตกคร่อมรีแอกแตนซ์เครื่องกำเนิดไฟฟ้า
3. การสร้างกราฟจากสมการ
4. การคำนวณขนาดเครื่องกำเนิดไฟฟ้าจากกราฟที่ได้สร้างขึ้น
5. การหาขนาดเครื่องกำเนิดไฟฟ้าโคยใช้สูตร
6. การคำนวณโดยไม่ต้องใช้กราฟและสูตร
7. การคำนวณด้วยคอมพิวเตอร์
8. ข้อสรุป
9. การคำนวณหาแรงดันเพี้ยน

บทที่ 20 ผลกระทบของฮาร์มอนิกที่มีต่อเครื่องกำเนิดไฟฟ้า
1. การไหลวนของกระแสนิวทรัลเนื่องจากเครื่องกำเนิดไฟฟ้าที่แตกต่างกัน
2. การชดเชยสำหรับเครื่องกำเนิดไฟฟ้าที่ไม่เหมือนกันในการออกแบบระบบ

บทที่ 21 คอยล์พิตช์ (Coil Pitch) ของเครื่องกำเนิดไฟฟ้า
1. ทั่วไป
2. การขนานเครื่องหรือการซิงโครไนซ์ (Synchronizing)
3. ฮาร์มอนิกที่ 3 ของเครื่องกำเนิดไฟฟ้า
4. การไหลวนของกระแสฮาร์มอนิก
ร. ผลของคอยล์พิตช์ (Coil Piths) ที่มีต่อแรงดันของเครื่องกำเนิดไฟฟ้า
6. สรุป
7. ข้อแนะนำในการแก้ปัญหา

บทที่ 22 คอยล์พิตช์ 2/3 และ 5/6
1. ทั่วไป
2. คอยล์พิตช์คืออะไร
3. ข้อดีและข้อค้อยของคอยล์พิตช์ 5/6
4. การต่อจุดสตาร์และการต่อประสานศักย์ให้เท่ากัน
5. ข้อสรุป

บทที่ 23 การต่อลงดินของเครื่องกำเนิดไฟฟ้าเมื่อขนานกัน
1. ทั่วไป
2. ระบบการต่อลงดินโดยตรงในแรงต่ำ

บทที่ 24 แบตเตอรี่และเครื่องชาร์จแบตเตอรี่
1. ทั่วไป
2. แบตเตอรี่ชนิดตะกั่วและน้ำกรด
3. แบตเตอรี่นิกเกิลแคดเมี่ยม
4. แบตเตอรี่ชาร์จเจอร์
5. ขั้นตอนการชาร์จแบดเตอรี่
6. การกำหนดขนาคชาร์จเจอร์แบดเตอรี่