การต่อลงดินระบบไฟฟ้า เล่มที่ 4

฿450.00

การต่อลงดินระบบไฟฟ้า เล่มที่ 4 พื้นฐานของหลักดินและคำนิยาม หลักการของเครื่องวัดความต้านทานดิน การวัดค่าความต้านทานดินด้วยแคล้มป์มิเตอร์ ระบบรากสายดิน

แชร์เล่มนี้

ผู้เขียน
วิวัฒน์ กุลวงศ์วิทย์
สำนักพิมพ์
MECT

ปีที่พิมพ์
พิมพ์ครั้งที่ 1
มกราคม 2561
จำนวน
264 หน้า
ISBN
9786169172031

รหัสสินค้า
0682
หมวดหนังสือ
ไฟฟ้า

การต่อลงดินระบบไฟฟ้า เล่มที่ 4 หลักดิน รากสายดิน และการวัด Ground Electrodes, Earth Terminal and Measurements

บทที่ 1 พื้นฐานของหลักดินและคำนิยาม
1.1 ทั่วไป
1.2 นิยาม
1.3 คุณลักษณะของดิน
1.4 คุณลักษณะทางไฟฟ้าของหลักดิน
1.5 ชนิดของระบบย่อยหลักดิน (Type of Earth Electrode Subsystem)
1.6 หลักดินชนิดอื่นๆ (Miscellaneous types of Electrode)

บทที่ 2 วัตถุประสงค์ของการต่อลงดิน และข้อกำหนดของความต้านทานดิน
2.1 วัตถุประสงค์ (Objective)
2.2 ข้อกำหนดความต้านทาน (Resistance Requirements)

บทที่ 3 คุณสมบัติของความต้านทาน (Resistance Properties) ของหลักดิน
3.1 ทั่วไป
3.2 หลักดินแบบครึ่งทรงกลม
3.3 หลักดินแยกอย่างง่าย (Simple Isolated Electrode)
3.4 การหาค่าความต้านทานของแท่งหลักดินที่ตำแหน่งใดๆ
3.5 อิมพีแดนซ์ทรานเซียนท์ของหลักดิน (Iransient impedance of Electrodes)

บทที่ 4 หลักการของเครื่องวัดความต้านทานดิน
4.1 ทั่วไป
4.2 เครื่องวัดไฟฟ้า (Electrical Measuring Instrument)
4.3 หลักการทำงานของวีทสโตนบริดจ์ (Wheatstone Bridge)
4.4 หลักการของเครื่องวัดความต้านทานดิน
4.5 มิเตอร์วัดความต้านทานดินความถี่สูง
6 การปฏิบัติการของการวัด
4.7 การระวังการทดสอบ

บทที่ 5 ความต้านทานจำเพาะดิน (Soll Resistivity)
5.1 ทั่วไป (General)
5.2 พิสัยความต้านทานจำเพาะโดยทั่วไป (Typical Resistivity Ranges)
5.3 ผลจากสิ่งแวดล้อม (Environmental Effects)
5.4 การวัดค่าความต้านทานจำเพาะของดิน (Measurement of Soil Resistivity)
5.5 รายละเอียดเพิ่มเติมเกี่ยวกับความต้านทานดินจำเพาะ
5.6 การวิเคราะห์หาสมการ (Derivation of Equations)
5.7 การวัดความต้านทาน (Measurement of the resistance)
5.8 วิธีใช้ (Use of the Method)
5.9 ข้อแนะนำการวัดความต้านทานจำเพาะของดิน
5.9.1 ทั่วไป
5.9.2 วิธีการวัดความต้านทานดินจำเพาะ
5.9.3 การตีความการวัด
5.9.4 เครื่องวัด

บทที่ 6 การวัดความต้านทานดินของหลักดิน (Measurement Of Resistance-to-Earth of Electrode)
6.1 คำนำ
6.2 วิธีการตกของศักย์ (Fall-of-potential Method)
63 วิธี3 จุด 3 มุม (Three-Point Triangulation Method)
6.4 ความต้านทานของดินที่ได้จากเครื่องวัด
6.5 การหาค่าความต้านทานจากวิธีการตกของศักย์
6.6 วิธีการวัดโดยตรง
6.7 การวัดแบบการตกของศักย์แบบง่าย (Simplified Fall of Potential test)

บทที่ 7 การวัดค่าความต้านทานดินด้วยแคล้มป์มิเตอร์
7.1 บทนำ
7.2 หลักการการทำงานของเครื่องวัดแบบแคล้มป์
7.3 ทฤษฎีและหลักการการวัดค่าความต้านทานแบบแคล้มป์
7.4 วิธีการวัดที่ยังผล
7.5 การวัดที่ไม่เป็นผล
7.6 เทคนิคการใช้เครื่องวัดแคล้มป์มิเตอร์

บทที่ 8 ข้อแนะนำการวัดความต้านทานดินเฉพาะอิมพีแดนซ์ของดินและศักย์ผิวดินของระบบการต่อลงดิน
8.1 บทนำ
8.2 ขอบเขต
8.3 วัตถุประสงค์ของการทดสอบ
8.4 ข้อระวังความปลอดภัยก่อนขณะทำการทดสอบกราวนด์
8.:5 ข้อการพิจารณาโดยทั่วไปของปัญหาที่เกี่ยวกับการวัด
8.6 อิมพีแดนซ์กราวนด์
8.7 การทดสอบโมเดล
8.8 การวัดความต้านทาน
8.9 การวัดศักย์
8.10 การตีความการวัด

บทที่ 9 การต่อลงดิน (Connection to Earth) ตามมาตรฐาน IEE 142-2007 สำหรับอาคารอุตสาหกรรม และอาคารพาณิชย์
9.1 ค่าที่ยอมรับได้ที่แนะนำ
9.2 ความต้านทานจำเพาะของดิน
9.3 การคำนวณความต้านทานดิน
9.4 ความสารมารถในการรับกระแส (Current-Loading Capacity)
9.5 การบำบัดดิน (Soil Treatment)
9.6 หลักดิน (Ground Electrode)
9.7 วิธีและเทคนิคการก่อสร้าง
9.8 การวัดความต้านทานดิน

บทที่ 10 แรงดันสัมผัส และแรงดันช่วงก้าว
10 ศักย์ของดิน (Earth Potential)
10.1 ไลน์ของการมีศักย์เท่ากัน (Equipotential Lines)
10.2 การสำรวจเส้นรอบรูปของศักย์
10.3 แรงดันช่วงก้าวและสัมผัส
10.4 แรงดันผิวดินเหนือหลักดิน (Surface Voltage Above Earth Electrodes)
10.5 ความร้อนของหลักดิน (Heating Electrode)

บทที่ 11 การปรับปรุงหลักดิน (Electrode Enhancement)
11.1 ทั่วไป
11.2 การรักษาน้ำเอาไว้ (Water Retention)
11.3 เกลือละลายเคมี (Chemical Salting)
11.4 การหุ้มหลักดิน (Electrode Encasement)
11.5 วิธีใส่เกลือ (Salting Methods)
11.6 การต่อลงดินในเขตอาร์กติก (Grounding in Arctic Regions)

บทที่ 12 สารปรับปรุงดิน (Earthing Enhancing Compounds)
12.1 บทนำ
12.2 ข้อกำหนดทั่วไป
12.3 วัสดุ
12.4 นิยาม
12.5 หลักการเบื้องต้น
12.6 การประยุกต์ใช้รากสายดินแบบสารประกอบปรับปรุงดิน
12.7 การคำนวณ สูตรและการคำนวณ

บทที่ 13 การออกแบบระบบย่อยหลักดินและตัวอย่างการออกแบบ
13.1 ระบบย่อยหลักดิน (Earth Electrode Subsystem)
13.2 พิจารณาพารามิเตอร์สถานที่หน้างาน (การสำรวจหน้างาน) (Determine of Site parameter (Site Survey))
13.3 วิธีการออกแบบ (Design Procedure)
13.4 แนวทางการออกแบบ (Design Guideline)
13.5 ตัวอย่างการวัด

บทที่ 14 การวัดความต้านทานดินสำหรับระบบการต่อลงดินขนาดใหญ่ (Measuring Earth Resistance For Large Ground systems)
14.1 ทั่วไป
14.2 การวัดในระบบการต่อลงดินขนาดใหญ่
14.3 การกำหนดการวัดในระบบต่อลงดินขนาดใหญ่
14.4 การวัดความต้านทานของระบบหลักดินขนาดใหญ่ โดยใช้วิธีการตัดกัน(Measurement of the Resistance of Large Earth-Electrode System: Intersecting Curves Method)
14.5 การวัดความต้านทานของระบบหลักดินขนาดใหญ่ด้วยวิธีแบบสโลป (Measurement of the Resistance of Lange Earth Electrode System: Slope Method)
14.6 การวัดระบบความต้านทานดินขนาดใหญ่โดยวิธีการตัดกันของเคอร์ฟ

บทที่ 15 ระบบรากสายดิน (Earth Termination System)
บทนำ
15.1 หลักการออกแบบ
15.2 การวิเคราะห์กระแสไหลผ่านตัวนำภายนอก และการติดตั้งภายในอาคาร
15.3 การคำนวณแบบง่ายสำหรับการหากระแสฟ้าผ่าบางส่วนที่ไหลในระบบจำหน่ายไฟฟ้า

บทที่ 16 การป้องกันการกัดกร่อน (Corrosion Control)
16.1 ทั่วไป
16.2 พื้นฐานการเกิดการกัดกร่อน (Corrosion Basic)
16.3 การเกิดรูปของเซลล์กัลวานิกแบบอื่นๆ
16.4 การต่อลงดินไฟฟ้าและการกัดกร่อน (Electrode Grounding and Corrosion)
16.5 การป้องกันโดยวิธีแคโทดิก (Cathodic Protective)
16.6 การป้องกันโดยการป้อนกระแส

บทที่ 17 การหาที่มาของสูตรเพื่อคำนวณหาระยะความปลอดภัยของหลักดินชนิดต่างๆ
17.1 ทั่วไป
17.2 การวิเคราะห์หาสูตรของระบบต่อลงดินสำหรับการหาระยะทางเพื่อหลีกเลี่ยงแรงดันอันตราย

บทที่ 18 แท่งหลักดินหลายหลักขนานตามวิธีของมาตรฐานอังกฤษ (BS Standard)
18.1 การวิเคราะห์แท่งหลักดิน 3 หลักขนาน
18.2 ค่าความต้านทานดินของหลักดินที่ขนานกัน