การต่อลงดิน เล่มที่ 5

฿450.00

การต่อลงดิน เล่มที่ 5 อิมพีแดนซ์ของรากสายดิน ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับความต้านทานดิน รากสายดินแบบเคาน์เตอร์พอยซ์ ค่าพารามิเตอร์ต่างๆ ของกระแสฟ้าผ่า

แชร์เล่มนี้

ผู้เขียน
วิวัฒน์ กุลวงศ์วิทย์
สำนักพิมพ์
MECT

ปีที่พิมพ์
พิมพ์ครั้งที่ 1
กรกฏาคม 2562
จำนวน
206 หน้า
ISBN
9786169172048

รหัสสินค้า
0683
หมวดหนังสือ
ไฟฟ้า

การต่อลงดิน เล่มที่ 5 Grounding อิมพีแดนซ์ของรากสายดิน Earth Terminal Impedance

บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับความต้านทานดิน
บทนำ
1. ความเข้าใจพื้นฐานเบื้องต้น
1.1 ความด้านดินจำเพาะของดิน
1.2 การวัดค่าความต้านทานจำเพาะของดิน
1.3 ความต้านทานดิน
1.4 ดินระยะไกล (Remote Earth) คืออะไร?
1.5 ความเข้าใจเรื่องการวัดค่าความต้านทานดินที่ถูกต้อง
1.6 ความต้านทานดินคือปริมาตรดิน

บทที่ 2 อิมพัลส์อิมพีแดนซ์ (Impulse Impedance)
2.1 ทั่วไป
2.2 พารามิเตอร์ทรานเซียนท์ของรากสายดิน
2.3 ผลจากความหนาแน่นกระแส
2.4 อิมพีแดนซ์ดิน
2.5 โมเดลความต้านทานแบบไม่เชิงเส้นกรณีทรานเซียนท์ในระบบการต่อลงดิน
2.6 การคำนวณหาด่าความเร็วคลื่นกระแสฟ้าผ่าในดิน

บทที่ 3 อิมพัลส์อิมพีแดนซ์ของหลักดินชนิดความยาวประสิทธิผล
3.1 ทั่วไป
3.2 ความยาวประสิทธิผล
3.3 โมเดลรากสายดิน
3.4 การหาความยาวประสิทธิผลรากสายดิน
3.5 สมมูลของรากสายดินในดินที่เป็นสายส่งแบบมีการสูญเสีย
3.6 การคำนวณหาความยาวประสิทธิผลของรากสายดินแบบแนวระดับ
3.7 การคำนวณหาความยาวเคาน์เตอร์พอยซ์ เนื่องจากรากสายดินเป็นรากสายดินแนวระดับ

บทที่ 4 อิมพัลส์อิมพีแดนซ์ของหลักดินชนิดความยาววิกฤต
4.1 นิยาม
4.2 การหาความยาวของหลักดินหรือรากสายดิน
4.3 การเปรียบเทียบระหว่างการคำนวณและการวัด
4.4 การกำหนดความยาวของรากสายดินแนวดิ่ง
4.5 วิธีคำนวณหาความยาวดลื่นของกระแสฟ้าผ่าในดิน

บทที่ 5 อิมพัลส์อิมพีแดนซ์ของหลักชนิดความยาวต่ำสุด
บทนำ
5.1 นิยามของคำว่าความยาวต่ำสุด
5.2 การศึกษาคณะทำงาน IEC เรื่องความต้านดินอิมพัลส์หรืออิมพีแดนซ์ดิน
5.3 ความยาวต่ำสุดของรากสายดิน

บทที่ 6 การวิเคราะห์เพื่อเปรียบเทียบความยาวแต่ละชนิด
ทั่วไป
6.1 การเปรียบเทียบความยาวรากสายดินเคาน์เตอร์พอยซ์
6.2 ผลการวิเคราะห์

บทที่ 7 ผลจากการเกิดการแตกประจุ (ไอโอไนเซชั่น) ของรากสายดิน
7.1 รากสายดินแนวดิ่ง
7.2 หลักดินแบบครึ่งทรงกลม
7.3 เมื่อดินมีการเบรกดาวน์
7.4 การคิดหารัศมียังผลเมื่อดินเกิดการแตกตัวของประจุไฟฟ้า
7.5 ตัวอย่างการวิเคราะห์

บทที่ 8 รากสายดินแบบเคาน์เตอร์พอยซ์
ทั่วไป
8.1 การวิเคราะห์รากสายดินแบบเคาน์เตอร์พอยซ์

บทที่ 9 การเกิดวาบฟ้าผ่าย้อนกลับเนื่องจากฟ้าผ่าของเสาส่ง
บทนำ
9.1 ฟ้าผ่าตรง
9.2 การประยุกต์ใช้กับเสาส่ง
9.3 การคำนวณแรงดันเสิร์จด้วยวงจรรวมแบบประมาณ

บทที่ 10 ทฤษฎีคลื่นจร
บทนำ
10.1 ทฤษฎีของคลื่นจร
10.2 การคำนวณแรงดันทรานเซียนท์โดยใช้ทฤษฎีคลื่นจร

บทที่ 11 การประยุกต์ใช้ทฤษฎีคลื่นจรกับการเกิดวาบไฟย้อนกลับของเสาส่ง
ทั่วไป
11.1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฟ้าผ่าเสาส่ง
11.2 รากสายดินเสาส่ง

บทที่ 12 การเลือกความต้านทานฐานเสา (Selection of footing Resistance)
12.1 บทนำ
12.2 การวิเคราะห์รูปแบบของหลักดินแบบง่าย

บทที่ 13 ค่าพารามิเตอร์ต่างๆ ของกระแสฟ้าผ่า
13.1 วาบฟ้าผ่าลงดิน
13.2 ค่าพารามิเตอร์ต่างๆ ของกระแสฟ้าผ่า
13.3 การกำหนดค่าพารามิเตอร์กระแสฟ้าผ่าสูงสุดสำหรับระดับป้องกันฟ้าผ่า 1
13.4 รายละเอียดการปริพันธ์หาค่าประจุของรูปดลื่นกระแส 10/350 μs
(integration impulse change of 10/350 μs)
13.5 การปริพันธ์ (integration) หาด่าพลังงานของรูปคลื่นกระแส 10/350 μs)
13.6 รายละเอียดของการปริพันธ์ของค่าประจุรูปคลื่น 8/20 μs
13.7 การเปรียบทียบค่าประจุของรูปคลื่น 8/20 μs กับ 10/350 μs ว่าเป็นกี่เท่าโดยคิดให้มีค่ายอดกระแสเท่ากัน
13.8 การกำหนดค่าพารามิเตอร์กระแสฟ้าผ่าขั้นต่ำ
13.9 กราฟของความน่าจะเป็นของกระแสฟ้าผ่าของ IEEE และ CIGRE’
13.10 พารามิเตอร์ของวาบฟ้าผ่า (Lightning)
13.11 ระบบเคอร์ออนิกและแผนที่ไอโซเคอร์ราออนิก (Keraunic levels and Isokeraunic Maps)
13.12 จำนวนวาบฟ้าผ่าลงพื้นดิน (Number of Flash to Earth)
13. 13 การคำนวณสมรรถนะเสาส่งที่มีต่อฟ้าผ่า การดักรับวาบฟ้าผ่าโดยไลน์ (Interception of Flash by the line)

บทที่ 14 การประยุกต์ใช้ทฤษฎีคลื่นจรกับสถานีย่อยหม้อแปลงระบบจำหน่าย
ทั่วไป
14.1 การถ่ายโอนแรงดันเสิร์จเข้าระบบแรงต่ำ
14.2 การคำนวณหาแรงดันระหว่างเปลือกหม้อแปลงกับดิน V2
14.3 การดำนวณหาด่าความต้านทานดินที่เหมาะสมเพื่อลดแร้งดันถ่ายโอน

บทที่ 15 บทสรุปความเข้าใจระหว่างความด้านทานดินกระแสไฟฟ้าความถี่ด่ำกับความถี่สูง
ทั่วไป
15.1 ความต้านทานดินไฟฟ้ากระแสตรง
15.2 การใช้หลักดินแนวดิ่งที่ยาวในการป้องกันเสาส่งโทรคมนาคม
15.3 การเกิดแรงดันดินเพิ่ม (Ground Potential Rise)
15.4 การประยุกต์ใช้รากสายดินเพื่อป้องกันฟ้าผ่าระบบโทรคมนาคมตาม IEC 62305-3
15.5 การประยุกต์ใช้งาน
15.6 รากสายดินแบบ ข ชนิดวงแหวน
15.7 การประยุกต์ใช้ค่าความยาวต่ำสุดจากกราฟ

บทที่ 16 เครื่องวัดความต้านทานดินแบบอิมพัลส์อิมพีแดนซ์
บทนำ
16.1 หลักการวัด
16.2 การประยุกต์ใช้