การวิเคราะห์วงจรอิเล็กทรอนิกส์ความถี่สูง
฿100.00
การวิเคราะห์วงจรอิเล็กทรอนิกส์ความถี่สูง คุณสมบัติทางไฟฟ้าและพารามิเตอร์ของอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ วงจรรีโซแนนซ์ การแมตชิ่งอิมพีแดนซ์ วงจรออสซิลเลเตอร์
ผู้เขียน
สุคนธ์ พุ่มศรี
สำนักพิมพ์
ศสอ.
ปีที่พิมพ์
2558
จำนวน
352 หน้า
ISBN
9786165535038
รหัสสินค้า
0685
หมวดหนังสือ
อิเล็กทรอนิกส์
การวิเคราะห์วงจรอิเล็กทรอนิกส์ความถี่สูง รหัส 3105-2003
บทที่ 1 คุณสมบัติทางไฟฟ้าและพารามิเตอร์ของอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์
ที่ใช้งานย่านความถี่สูง
แบบทดสอบก่อนเรียน
1.1 คุณสมบัติทางไฟฟ้าและพารามิเตอร์ของเส้นลวดที่ความถี่สูง
1.2 คุณสมบัติทางไฟฟ้าและพารามิเตอร์ของตัวต้านทานที่ความถี่สูง
1.3 ตัวเก็บประจุ
1.4 ขดลวดเหนี่ยวนำ
1.5 การออกแบบขดลวดแกนอากาศ
แบบทดสอบหลังเรียน
แบบฝึกหัดที่ 1
บทที่ 2 วงจรรีโซแนนซ์
แบบทดสอบก่อนเรียน
2.1 คำจำกัดความต่าง ๆ ในวงจรรีโซแนนซ์
2.2 การหาค่าการสูญเสียของสัญญาณของอุปกรณ์ในวงจรรีโชแนนซ์
2.3 วงจรรีโซแนนซ์แบบ LC
2.4 การหาค่า Load Q ในวงจรรีโซแนนซ์
2.5 การหาค่าอินเซอร์ชั่นลอสส์ในวงจรรีโซแนนซ์
2.6 การแปลงค่าอิมพีแดนซ์
2.7 การเชื่อมโยงสัญญาณในวงจรรีโชแนนซ์
แบบทดสอบหลังเรียน
แบบฝึกหัดที่ 2
บทที่ 3 การออกแบบวงจรฟิลเตอร์
แบบทดสอบก่อนเรียน
3.1 การออกแบบวงจรฟิลเตอร์ความถี่ต่ำ
3.2 การออกแบบวงจรฟิลเตอร์ความถี่สูง
3.3 การออกแบบวงจรแบนด์พาสฟิลเตอร์
3.4 การออกแบบวงจร Band-Stop Filter หรี่อวงจร Band-Rejection Filter
แบบทดสอบหลังเรียน
แบบฝึกหัดที่ 3
บทที่ 4 การแมตชิ่งอิมพีแดนซ์
แบบทดสอบก่อนเรียน
4.1 วงจรแมตชิ่งขนิด L
4.2 วงจรแมตชิ่งที่ใช้อุปกรณ์ 3 ตัว
แบบทดสอบหลังเรียน
แบบฝึกหัดที่ 4
บทที่ 5 วงจรออสซิลเลเตอร์
แบบทดสอบก่อนเรียน
5.1 วงจร LC Oscillator
5.2 วงจร RC Oscillator
5.3 คุณลักษณะของคริสตอล
5.4 การนำคริสตอลไปใช้งาน
แบบทดสอบหลังเรียน
แบบฝึกหัดที่ 5
บทที่ 6 วงจร Phase Locked Loop (PLL)
แบบทดสอบก่อนเรียน
6.1 หลักการทำงานพื้นฐานของวงจร Analog Phase Detector
6.2 หลักการทำงานพื้นฐานของวงจร Phase Locked Loop
6.3 วงจร Frequency Synthesizers
แบบทดสอบหลังเรียน
แบบฝึกหัดที่ 6
บทที่ 7 การออกแบบวงจรขยายความถี่ย่านความถี่วิทยุขนาดเล็ก
แบบทดสอบก่อนเรียน
7.1 วงจรสมมูลของอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ที่ความถี่สูง
7.2 วงจรขยายสัญญาณความถี่วิทยุแบบเสถียร
7.3วงจรนิวทราไลซ์
7.4 การหาอัตราการขยายกำลังของวงจรขยายความถี่วิทยุ
7.5 การออกแบบวงจรขยายสัญญาณวิทยุในสภาวะที่อุปกรณ์
แอ็กทิฟอยู่ในสภาวะเสถียร
7.6 การออกแบบวงจรขยายสัญญาณวิหยุในสภาวะที่อุปกรณ์
แอ็กทิฟอยู่ในสภาวะไม่คงที่
แบบทดสอบหลังเรียน
แบบฝึกหัดที่ 7
บทที่ 8 วงจร Linaer Power Amplifiers
แบบทดสอบก่อนเรียน
8.1วงจรขยายแบบคลาส A
8.2 วงจรขยายแบบคลาส B
แบบทดสอบหลังเรียน
แบบฝึกหัดที่ 8
บทที่ 9 วงจร Tuned Power Amplifiers
แบบทดสอบก่อนเรียน
9.1 วงจร Current Source Class C Amplifiers
9.2 วงจร Solid State Class C Mixed Mode Amplifiers
แบบทดสอบหลังเรียน
แบบฝึกหัดที่ 9
บทที่ 10 วงจรขยายแบบ Hign Efficiency Power Amplifiers
แบบทดสอบก่อนเรียน
10.1 วงจรขยายแบบคลาส D
10.2 วงจรขยายแบบคลาส E
10.3 วงจรขยายแบบคลาส F
10.4 วงจรขยายแบบคลาส S
แบบทดสอบหลังเรียน
แบบฝึกหัดที่ 10
บทที่ 11 การใช้สมิตชาร์ตในการออกแบบวงจรความถี่สูง
แบบทดสอบก่อนเรียน
11.1 Z-Smith Chart
11.2 การพล็อตค่าอิมพีแดนซ์โดยใช้สมิตชาร์ต
11.3 การแปลงค่าอิมพีแคนชไปเป็นค่าแอดมิตแตนซ์
แบบทดสอบหลังเรียน
แบบฝึกหัดที่ 11