กลศาสตร์วิศวกรรม
฿200.00
กลศาสตร์วิศวกรรม หลักการเบื้องต้นทางกลศาสตร์ หลักการของแรงและโมเมนต์ของแรง แผนภาพส่วนอิสระและการสมดุลของแรง การวิเคราะห์ระบบแรงสองมิติ แรงเสียดทาน
ผู้เขียน
ผศ.ดร.อุดมวิทย์ กาญจนวรงค์
สำนักพิมพ์
Sky Book
ปีที่พิมพ์
พิมพ์ครั้งที่ 1
พฤศจิกายน 2565
จำนวน
330 หน้า
ISBN
9786162139789
รหัสสินค้า
0689
หมวดหนังสือ
เครื่องกล
กลศาสตร์วิศวกรรม Engineering Mechanics
บทที่ 1 หลักการเบื้องต้นทางกลศาสตร์
1.1 คำจำกัดความ
1.2 ประเภทของกลศาสตร์
1.3 วิวัฒนาการของกลศาสตร์
1.4 ปริมาณทางกลศาสตร์
1.5 มิติและระบบหน่วย
แบบฝึกหัดบทที่ 1
บทที่ 2 หลักการของแรงและโมเมนต์ของแรง
2.1 ความหมายและชนิดของแรง
2.2 ระบบแรง
2.3 โมเมนต์ของแรง
2.4 เงื่อนไขของการสมดุล
2.5 ผลลัพธ์ของระบบแรง
แบบฝึกหัดบทที่ 2
บทที่ 3 แผนภาพส่วนอิสระและการสมดุลของแรง
3.1 แผนภาพส่วนอิสระ
3.2 การสมดุลของแรง
3.3 ทฤษฎีการสมดุลของแรง
แบบฝึกหัดบทที่ 3
บทที่ 4 การวิเคราะห์ระบบแรงสองมิติ
4.1 บทนำ
4.2 การวิเคราะห์แรงสองมิติที่พบกัน
4.3 การวิเคราะห์แรงสองมิติที่ขนานกัน
4.4 โมเมนต์ของแรงคู่ควบ
4.4 โมเมนต์ของแรงคู่ควบ
4.5 การวิเคราะห์แรงสองมิติที่ไม่พบกัน หรือการวิเคราะห์แรงในชิ้นส่วนโครงสร้าง
แบบฝึกหัดบทที่ 4
บทที่ 5 การวิเคราะห์ระบบแรงสามมิติ
5.1 บทนำ
5.2 การวิเคราะห์แรงสามมิติที่พบกัน
5.3 การวิเคราะห์แรงสามมิติที่ไม่พบกัน
แบบฝึกหัดบทที่ 5
บทที่ 6 แผนภาพแรงเฉือนและโมเมนต์ดัด
6.1 บทนำ 110
6.2 คำจำกัดความ
6.3 แผนภาพแรงเฉือน
6.4 แผนภาพของโมเมนต์ดัด
6.5 แผนภาพมาตรฐาน
แบบฝึกหัดบทที่ 6
บทที่ 7 แรงเสียดทาน
7.1 นิยามและประเภทของแรงเสียดทาน
7.2 คุณสมบัติของแรงเสียดทาน
7.3 สัมประสิทธิ์ความเสียดทาน
แบบฝึกหัดบทที่ 7
บทที่ 8 จุดศูนย์ถ่วงและโมเมนต์ความเฉื่อย
8.1 ทฤษฎีจุดศูนย์ถ่วง
8.2 การหาจุดศูนย์ถ่วงของรูปทรง
8.3 โมเมนต์ความเฉื่อย
แบบฝึกหัดบทที่ 8
บทที่ 9 การเคลื่อนที่
9.1 กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
9.2 การเคลื่อนที่ในแนวราบ
9.3 การเคลื่อนที่ในแนวดิ่ง
9.4 การเคลื่อนที่ในแนวโค้ง
9.5 การเคลื่อนที่เชิงมุม
แบบฝึกหัดบทที่ 9
บทที่ 10 งานและพลังงาน
10.1 งาน
10.2 พลังงาน
10.3 ความสัมพันธ์ระหว่างงานและพลังงาน
10.4 งานเสมือน
แบบฝึกหัดบทที่ 10
บทที่ 11 แรงกระแทกและแรงเคลื่อนไหว
11.1 นิยามของแรงกระแทกและแรงเคลื่อนไหว
1 1.2 ความสัมพันธ์ระหว่างแรงกระแทกและแรงเคลื่อนไหว
11.3 กฎของแรงเคลื่อนไหว
แบบฝึกหัดบทที่ 11
บทที่ 12 หน่วยแรง
12.1 บทนำ
12.2 ความเค้น
12.3 ความเครียด
1 2.4 ความสัมพันธ์ระหว่างความเค้นและความเครียด
แบบฝึกหัดบทที่ 12
ภาคผนวก ก ตารางการเปลี่ยนหน่วย
ภาคผนวก ข ความหนาแน่นของวัสดุ
ภาคผนวก ค สัมประสิทธิ์ความเสียดทานของวัสดุ
ภาคผนวก ง คุณสมบัติของพื้นที่หน้าตัดต่าง ๆ
ภาคผนวก จ สูตรตรีโกณมิติ
เฉลยแบบฝึกหัด