UHPC คู่มือการทำงานคอนกรีตสมรรถนะสูงพิเศษ พ.ศ.2566

฿200.00

UHPC คู่มือการทำงานคอนกรีตสมรรถนะสูงพิเศษ พ.ศ.2566 ประเภทของคอนกรีตสมรรถนะสูงพิเศษ สมบัติของคอนกรีตสมรรถนะสูงพิเศษ ข้อแนะนำการเลือกส่วนผสม

ISBN: 9786163960986 หมวดหมู่: , ป้ายกำกับ:
แชร์เล่มนี้

ผู้เขียน
คณะกรรมการ
สาขาวิศวกรรมโยธา
สำนักพิมพ์
วสท.

ปีที่พิมพ์
พิมพ์ครั้งที่ 1
ธันวาคม พ.ศ.2566
จำนวน
60 หน้า
ISBN
9786163960986

รหัสสินค้า
0693
หมวดหนังสือ
ก่อสร้าง

UHPC คู่มือการทำงานคอนกรีตสมรรถนะสูงพิเศษ พ.ศ.2566

บทที่ 1 บทนำ
1.1 วัตถุประสงค์
1.2 ขอบเขตของคู่มือ
1.3 ทั่วไป
1.4 ที่มาของปัญหา
1.5 ประเภทของคอนกรีตสมรรถนะสูงพิเศษ
1.5.1 ประเภทของคอนกรีตสมรรถนะสูงพิเศษแบ่งตามสมบัติของคอนกรีตสด
1.5.2 ประเภทของคอนกรีตสมรรถนะสูงพิเศษแบ่งตามสมบัติของคอนกรีตที่แข็งตัวแล้ว
1.6 ข้อดีและข้อควรคำนึงของคอนกรีตสมรรถนะสูงพิเศษ

บทที่ 2 วัสดุ
2.1 ทั่วไป
2.2 ปูนซีเมนต์
2.3 วัสดุทดแทนปูนซีเมนต์
2.4 สารเคมีผสมเพิ่ม
2.4.1 สารลดน้ำ
2.4.2 สารลดการหดตัว
2.4.3 สารกำจัดฟองอากาศ (anti-foaming agent)
2.5 มวลรวม
2.6 น้ำ
2.7 เส้นใย
2.8 เหล็กเสริม
2.9 เหล็กและลวดอัดแรง

บทที่ 3 สมบัติของคอนกรีตสมรรถนะสูงพิเศษ

3.1 ทั่วไป สมบัติในสภาวะคอนกรีตสด และสภาวะพลาสติก (properties in fresh and plastic state)
3.2.1 ความสามารถในการเท (workability)
3.2.2 ปริมาณฟองอากาศ (air content)
3.2.3 การก่อตัว (setting times)
3.2.4 การหดตัวพลาสติก (plastic shrinkage)
3.2.5 การเยิ้มน้ำ (bleeding)
3.3 สมบัติเชิงกลในสภาวะที่แข็งตัวแล้ว (mechanical properties)
3.3.1 กำลังอัด
3.3.2 กำลังดึงและกำลังดัด
3.3.3 มอดูลัสยืดหยุ่นแบบสถิตและอัตราส่วนปัวชอง
3.4 สมบัติด้านความคงทน (durability properties)
3.4.1 การหดตัว
3.4.2 การดูดซึมน้ำ (water absorption)
3.4.3 การซึมผ่านของคลอไรด์
3.4.4 คาร์บอเนชัน
3.4.5 ความต้านทานวัฏจักรการแข็งตัวสลับหลอมเหลวของน้ำในคอนกรีต (freezing and thawing resistance)
3.4.6 การทำลายโดยกรดและซัลเฟต
3.4.7 ปฏิกิริยาระหว่างด่างกับมวลรวม
3.4.8 การขัดสี
3.4.9 การถูกระล้างและการมกิดคราบ (leaching and efflorescence)
3.4.10 การทนไฟ
3.5 สมบัติด้านอื่นๆ
3.5.1 สมบัติด้านความร้อน
3.5.2 การคืบ (creep)

บทที่ 4 ข้อแนะนำการเลือกส่วนผสม
4.1 ทั่วไป
4.2 สมรรถนะที่ต้องการ
4.3 ขั้นตอนการเลือกส่วนผสม

บทที่ 5 การผลิตคอนกรีตสมรรถนะสูงพิเศษ และการก่อสร้าง
5.1 ทั่วไป
5.2 การเก็บวัสดุ
5.2.1 วัสดุประสาน และวัสดุผง
5.2.2 มวลรวม
5.2.3 สารเคมีผสมเพิ่ม
5.2.4 เส้นใย
5.3 การชั่งตวงวัสดุ
5.4 การผสมคอนกรีต
5.5 การควบคุมคุณภาพคอนกรีต
5.5.1 ทั่วไป
5.5.2 การทดสอบเพื่อควบคุมคุณภาพ
5.6 การลำเลียง และการเทคอนกรีต
5.7 การทำให้แน่น
5.8 การแต่งผิว
5.9 การบ่ม
5.10 แบบหล่อและค้ำยัน
5.11 รอยต่อก่อสร้าง
5.12 การตรวจสอบสภาพหลังการก่อสร้าง

บทที่ 6 การทดสอบ
6.1 ทั่วไป
6.2 สรุปมาตรฐานวิธีการทดสอบ

มาตรฐานและเอกสารอ้างอิง