การออกแบบคอนกรีตเสริมเหล็ก โดยวิธีกำลังและการประยุกต์นำไปใช้งาน

฿450.00

การออกแบบคอนกรีตเสริมเหล็ก โดยวิธีกำลังและการประยุกต์นำไปใช้งาน หลักการและพื้นฐานการออกแบบคอนกรีตเสริมเหล็ก การควบคุมคุณภาพวัสดุก่อสร้าง

แชร์เล่มนี้

ผู้เขียน
ผศ.ดร.ณัฐพงศ์ มกระธัช
ศ.ดร.ชัย จาตุรพิทักษ์กุล

สำนักพิมพ์
TCA

ปีที่พิมพ์
กุมภาพันธ์ 2566
จำนวน
452 หน้า
ISBN
9786165945806

รหัสสินค้า
0696
หมวดหนังสือ
ก่อสร้าง

การออกแบบคอนกรีตเสริมเหล็ก โดยวิธีกำลังและการประยุกต์นำไปใช้งาน

บทที่ 1 หลักการและพื้นฐานการออกแบบคอนกรีตเสริมเหล็ก
1.1 บทนำ
1.2 การออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก
1.3 กฎหมายและมาตรฐานในงานก่อสร้างอาคาร
1.4 สมบัติของคอนกรีตและเหล็กเสริม
1.5 คอนกรีตธรรมดา คอนกรีตกำลังสูงสูง และคอนกรีตความร้อน

บทที่ 2 การควบคุมคุณภาพวัสดุก่อสร้าง
2.1 ปูนซีเมนต์
2.2 มวลรวม และน้ำที่ใช้เป็นส่วนผสม
2.3 เหล็กเสริมสำหรับคอนกรีตเสริมเหล็ก
2.4 การทดสอบวัสดุคอนกรีตและเหล็กเสริม
2.5 การเก็บรักษาวัสดุ
2.6 น้ำหนักของวัสดุที่ใช้ในการก่อสร้าง

บทที่ 3 ข้อกำหนดและมาตรฐานที่ใช้ในการก่อสร้าง
3.1 คุณภาพของคอนกรีต
3.2 การผสมและการเทคอนกรีต
3.3 แบบหล่อ ค้ำยัน ท่อที่ฝัง และรอยต่อเพื่อการก่อสร้าง
3.4 วัสดุป้องกันน้ำและป้องกันความขึ้น
3.5 คุณภาพของเหล็กเสริม

บทที่ 4 องค์อาคาร การจำลองโครงสร้างและการวิเคราะห์โครงสร้าง
4.1 องค์อาคาร
4.2 การพิจารณาน้ำหนักที่กระทำต่อโครงสร้างอาคาร
4.3 การจำลองโครงสร้างเพื่อการวิเคราะห์พาแรงภายในต่างๆ

บทที่ 5 พฤติกรรมของคอนกรีตเสริมเหล็กภายได้แรงกระทำ
5.1 สมมุติฐานของคอนกรีตเสริมเหล็กเมื่อรับแรง
5.2 แรงอัดตามแนวแกน แรงดัด และหน้าตัดแปลงร้าว
5.3 แรงเฉือนและแรงดึงทแยง
5.4 คานคอนกรีตเสริมเหล็กที่ไม่เสริมเหล็กรับแรงเฉือน
5.5 คานคอนกรีตเสริมเหล็กที่เสริมเหล็กรับแรงเฉือน
5.6 แรงยึดหน่วงและระยะฝั่งของเหล็กเสริมในคอนกรีต

บทที่ 6 แนวคิดในการออกแบบคอนกรีตเสริมเหล็กโดยวิธีกำลัง
6.1 แนวคิดในการออกแบบคอนกรีตเสริมเหล็กโดยวิธีกำลัง
6.2 การจัดน้ำหนักบรรทุกเพื่อการออกแบบ
6.3 การจัดน้ำหนักบรรทุกเพื่อการวิเคราะห์
6.4 การออกแบบคอนกรีตเสริมเหล็กโดยวิธีกำลังเพื่อรับแรงดัด

บทที่ 7 การออกแบบพื้นคอนกรีตเสริมเหล็ก
7.1 การถ่ายน้ำหนักจากพื้นคอนกรีตเสริมเหล็กทิศทางเดียวลงบนดาน
7.2 การถ่ายน้ำหนักจากพื้นคอนกรีดเสริมเหล็กฮองทางลงบนดาน โดยวิธีที่ 2
7.3 การถ่ายน้ำหนักของพื้นคอนกรีตเสริมเหล็กสองทางลงบนคาน โดยวิธีที่ 3
7.4 การออกแบบแผ่นพื้นตอนกรีตเสริมเหล็กโดยวิธีกำลัง

บทที่ 8 การออกแบบบคานคอนกรีตเสริมเหล็ก
8.1 การออกแบบคานคอนกรีตเสริมเหล็กโดยวิธีกำลัง
8.2 การออกแบบคานรับแรงดัดโดยเสริมเหล็กรับแรงดึงเพียงอย่างเดียว
และการออกแบบคานรับแรงดัดที่เสริมรับแรงอัดและแรงดึง
8.3 การวิเคราะห์และการออกแบบคานรูปตัวที (T)
8.4 การออกแบบเหล็กรับแรงเฉือน

บทที่ 9 การออกแบบบบันไดคอนกรีตเสริมเหล็ก
9.1 บันไดแบบท้องเรียบ
9.2 บันไดโค้งเวียน

บทที่ 10 การแอ่นตัวหรือระยะโก่งของโครงสร้างคอนกรีดเสริมเหล็ก
10.1 การแอ่นตัวหรือระยะโก่ง
10.2 โมเมนต์ความเฉื่อยประสิทธิผล (Ie)
10.3 ไมเมนต์ความเพื่ออประสิทธิผล (I.) สำหรับใช้โครงสร้างช่วงต่อเนื่อง